Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle…
บทที่ 3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis (ภาวะความดันโลหิตสูง)
ค่าความดันโลหิตซิสโตลิก มากกว่า 140 mmHg ขึ้นไป
Target organ damage (TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากการที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
Microalbuminuria (โปรตีนในปัสสาวะ)
ไตเรื้อรังระดับปานกลาง-รุนแรง
Cardiovascular disease (CVD)
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
Hypertensive urgency
ภาวะความกันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่แสดงอาการทีทำร้ายอวัยวะเป้าหมาย
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/120 mmHg และมีอาการแสดงของการทำลายอวัยวะเป้าหมาย
อาการ
Acut MI
Stroke
Kidney failure
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of Chronic hypertension
กลไกการไหลเวียนเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย
Dyspnea
Edema
Poly/Oliguria
Cardiac arrythmia
Neck vein engorgement
Orthopnea
Fatigue
Ascites
Tachypnea
การพยาบาล
ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
อาการที่พบ
Neurologic symptoms
Cardiac symptoms
Acute kidney failure (อาจจะไม่เกิดขึ้นในทันที)
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยการติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด เพื่อเป็นการป้องกันการลดของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว ไม่ควรลด SBP ต่ำกว่า 120 mmHg DBP ที่เหมาะคือ 70-79 mmHg
รักษาด้วย Short-acting intravenous antihypertensive agents ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ ความดันต่ำอย่างรวดเร็ว หัวใจเต้นช้า ภาวะกรด หลอดเลือดดำอักเสบ
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus) ในatrium
atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้ว
คลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle ได้ทั้งหมด
ECG ไม่สามารถบอก P wave ได้ชัดเจน
อัตราการเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นของ ventricle
มากกว่า100 ครั้ง/นาที
rapid ventricular response
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF
AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Persistent AF
AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF
AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF
AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
อัตราการเต้นของ ventricle ถ้าเต้นเร็วเกินไปจะทำให้ ระยะเวลาการคลายตัว
รับเลือดของ ventricle ลดลง
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle ช้าเกินไป
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาที
ลดลง
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ การเกิดลิ่มเลือด AF
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟsาหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิด
การเต้นของหัวใจ
จุดกำเนิดอาจมีตำแหน่งเดียวหรือ
หลายตำแหน่ง
ECG ไม่พบ P wave
QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
VT อาจเปลี่ยนเป็น VF ได้ในทันที
ทำให้เสียชีวิต
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
ระบบไหลเวียน
โลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที
รู้สึกใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที เปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้
เตรียมเครื่อง Defibrillator
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการ
เต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
ECG จะไม่มี P wave
ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขผู้ป่วย
จะหัวใจหยุดเต้นทันที
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษา
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อ
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษา
Acute Heart Failure (AHF) ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรวดเร็วที่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจจึงทำให้เกิดการเสียความสมดุลของ Preload and Afterload
Annalysis
การคั้งของน้ำและเกลือแร่
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิต
ความผิดปกติของระบบประสาทและฮอร์โมน
ภาวะการอักเสบเรื้อรัง
สาเหตุ
ปัจจัยกระตุ้น
ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูงควบคุมไม่เพียงพอ
ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด
การใช้ยาไม่สม่ำเสมอ
การควบคุมปริมาณเกลือในอาหารไม่เพียงพอ
ภาวะน้ำเกิน
หลอดเลือดปอดอุดตัน
โรคติดเชื้อ
ภาวะโลหิตจาง
อาการและอาการแสดง
พบได้บ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ
นอนราบไม่ได้
อ่อนเพลีย
บวมตามแขนและขา
ท้องอืดแน่นท้อง
ความดันโลหิตปกติ ต่ำ/สูง
ปัสสาวะน้อย/มาก
หัวใจเต้นเร็ว
เส้นเลือดดำที่คอโปร่งพอง
รูปแบบของอาการ
Acute decompensated heart faiulre
Pt หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันแต่อาการไม่รุนแรงมาก
Hypertensive acute heart failure
Pt หัวใจล้มเหลวที่มีภาวะของปอดบวมน้ำ+ความดันโลหิตสูง
หัวใจห้องล่างซ้ายยังทำงานได้ดีอยู่
Pulmonary Edema
ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ำร่วมด้วย เห็นได้ชัดจากภาพถ่ายรังสีทรวจอก
O2 sat น้อยกว่า 90
Cardiogenic shock
ร่างกายมี poor tissue perfusion
systolic ต่ำกว่า 90 mmHg , MAP<60 mmHg
ปัสสาวะน้อย
High output fuilure
หัวใจล้มเหลวที่มีเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ
หัวใจเต้นเร็ว ปลายมือปลายเท้าอุ่น น้ำท่วมปอด
Right heat failure
การทำงานของหัวใจห้องขวาทั้งหมดล้มเหลว
เลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ความดันโลหิตต่ำ
ตับบวม
ความดันของเส้นเลือดดำที่คอเพิ่มมากขึ้น
การพยาบาล
หลักการทำงานของผู้ป่วยวิกฤตทางหัวใจและหลอดเลือด: การลดการทำงานของหัวใจ และส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ลดการทำงานของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ยาขับปัสสาวะ
ยาขยายหลอดเลือด
จำกัดสารน้ำและโซเดียม
จัดท่านอนศีรษะสูง
จำกัดกิจกรรมแบบสมบูรณ์
การลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยา ลด/ควบคุม จังหวะอัตราการเต้นของหัวใจ
จำกัดกิจกรรม
ควบคุมอาการปวด
ใส่เครื่องพยุงหัวใจ
3.การเพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ หากอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที งดให้ยาและรายงานแพทย์ทันที
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ดูแลการทำงานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
6.ตืดตามการเปลี่ยนคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ทุห 1-2 hr.
Shock (ภาวะช็อค)
ปริมาณออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการของร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดการไหลเวียนโลหิตที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
Annalysis
การไหลเวียนโลหิตล้มเหลวทำให้ Stoke volume และ Cardiac output ลดลง เป็นผลให้ systolic ลดต่ำกว่า 40 mmHg
ความดันโลหิต
ความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
ความสามารถของการบีบตัวของหัวใจ
ปริมาณเลือดในหัวใจในช่วงคลายตัว
ระยะ
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ำและยาที่เหมาะสม ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย
การทำงานของอวัยวะต่างๆลดลง
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
(Irreversible shock)
ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทำให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆ ในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
รักษาในระยะนี้มักจะไม่ได้ผล
ผูป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูง
ประเภท
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ
(Hypovolemic shock)
การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของ
ปริมาตรเลือด
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว
(Cardiogenic shock)
หัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock,
Inflammatory shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
หลั่งชีวพิษในตัว (endotoxin) ร่างกายจึงมีการตอบสนองโดยการหลั่งสาร cytokines
ภาวะช็อกจากการแพ้
(Anaphylactic shock)
เกิดในภาวะ anaphylaxis เกิดจากปฏิกิริยา ของผู้ป่วยที่ได้รับ antigen กับantibody ของร่างกาย
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต
(Hypoadrenal / adrenocortical shock)
ร่างกายไม่สามารถผลิต cortisol ในปริมาณมากพอกับความต้องการในการประคับประคองความดันโลหิตในขณะที่ร่างกายเกิดความเครียด มักพบในผู้ป่วย adrenal insufficiency
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ
(Obstructive shock)
การอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท
(Neurogenic shock)
ความผิดปกติทางพลศาสตร์การไหลเวียนโลหิต จากความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด
อาการและการแสดง
ระบบอวัยวะ
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย
ซึม
หมดสติ
เซลล์สมองตาย
หัวใจแลหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว
ผิวหนังเย็นซีด
หายใจ
หายใจเร็วลึก
ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ
ระบบหายใจล้มเหลว
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ขาดเลือด
ตับอ่อนอักเสบ
ดีซ่าน
ตับวาย
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย
เม็ดเลือดขาวทำงานบกพร่่อง
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลในเลือดสูง
ร่างกายเป็นกรด
การรักษา
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
การให้สารน้ำ
Crystalloid solution
เพิ่มปริมาตรของสารน้ำในหลอดเลือด
Colloid solution
ทดแทนพลาสมา เพิ่ม oncotic pressure
Blood component
ทดแทนการเสียเลือดและเพิ่มปริมาตรในเลือด
การให้ยาที่มีผลต้อการบีบตัวของหัวใจ (Inotropic agent)
และการหดตัวของหลอดเลือด (Vasopressor agent)
Dopamine
Epinephrine
Dobutamine
Norepinephrine
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
กิจกรรมการพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลให7ได7รับออกซิเจนอย;างเพียงพอ
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ทดแทนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ยา
Dopamine
Dobutamine
Epinephrine
Norepinephrine
ดูแลจัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา
ประเมินสัญญาณชีพ รวมถึงค่า MAP ทุก 1 ชั่วโมง
ติดตามค่า CVP
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย
และ ติดตามปริมาณปัสสาวะทุก 1-2 ชั่วโมง
ติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
ลักษณะผิวหนังเย็นชื้น ซีด หรือเขียวคล้ำ
การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ
เตรียมผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการทำ PTCA, CABG
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
ให้ข้อมูล อธิบายเหตุผล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ให้เกียรติผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล
ให้กำลังใจและสนับสนุนทางด้านจิตใจ
ช่วยเหลือในการติดต่อสื่อสาร
เตรียมความพร้อมก่อนการย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤต
ประเมินระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างต่อเนื่อง