Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - Coggle Diagram
บทที่ 7
การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจัย
ความสำคัญ
ของรายงานการวิจัย
เป็นการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในการรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง
สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงจรรยาบรรณของการใช้ผลงานวิจัยด้วย
เป็นการพัฒนาความคิดอย่างมีระบบระเบียบ
เพื่อเสนอผลจากการค้นคว้าและข้อค้นพบต่าง ๆ ให้ผู้สนใจทราบถึงรายละเอียดทุกขั้นตอน
เป็นการนำเสนอข้อเท็จจริง
ที่เกิดจากการค้นคว้าอย่างเห็นระบบ
ลักษณะของรายงานการวิจัย
สาระของรายงานในแต่ละหัวข้อมีลักษณะเฉพาะเป็นเอกภาพและสัมพันธ์สอดคล้องกัน
ภาษาที่ปรากฏในรายงานการวิจัยเป็นประโยคอดีตกาล
นำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้
จัดทำขึ้นหลังดำเนินโครงการเสร็จแล้ว เพื่อนำเสนอไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนางาน
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย
การเขียนส่วนเนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง
แบบการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ศึกษา
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คำนิยามศัพท์
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปราย
และข้อเสนอแนะ
การเขียนส่วนท้าย
การเขียนภาคผนวก
การเขียนประวัติผู้วิจัย
บรรณานุกรม
การเขียนส่วนนำ
สารบัญ
สารบัญตาราง
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญรูปภาพ
หน้าอนุมัติ
บทคัดย่อภาษาไทย
ปกรอง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
ปกนอก
รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยก่อนที่จะเริ่มทำงานวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยภายหลังงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
ลักษณะของการเขียน
รายงานการวิจัยที่ดี
การแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม
ความสมบูรณ์และถูกต้องของเนื้อหารายงาน
การนำหลักการ/ทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสม
ความชัดเจนของการเขียนรายงาน
ความเหมาะสมของรูปแบบการเขียนรายงาน
ข้อบกพร่องในการเขียน
รายงานการวิจัย
ข้อบกพร่องทั่วไป
ด้านภาษา
ด้านการจัดพิมพ์
ข้อบกพร่องด้านมโนทัศน์
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทนำ
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สอง
บรรณานุกรม
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สาม
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สี่
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่ห้า
หลักการ เทคนิค การวางแผน
และขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย
หลักการเขียนรายงานการวิจัย
ความสม่ำเสมอ
ความตรงประเด็น
ความชัดเจน
ไม่ใช้ถ้อยคำที่คลุมเคลือ
จัดแบ่งหัวข้อ วรรคตอน และย่อหน้าให้เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการใช้คำย่อ
ใช้ประโยคง่าย ๆ ถูกหลักไวยากรณ์
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาต่างประเทศถ้ามีคำไทยใช้แทนแล้ว
ความต่อเนื่อง
ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง
ความเป็นเอกภาพ
ความเป็นระบบ
ความครบถ้วนสมมบูรณ์
ความถูกต้อง
เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย
หลีกเลี่ยงการใช้คำสรรพนามบุรุษต่าง ๆ
การเขียนข้อความต่าง ๆ ต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ
หลีกเลี่ยงการใช้อักษรย่อที่ไม่เป็นที่ยอมรับ
ควรมีความคงที่ในการใช้สำนวนภาษา
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาต่างประเทศถ้ามีคำไทยใช้แทนแล้ว
การเขียนตัวเลขถ้าใช้ทศนิยม 2 หลัก ก็ควรเขียนเช่นนี้ตลอดงานวิจัย
ใช้ภาษาเขียน
การอ้างอิงผลการวิจัยต้องใช้ประโยคที่เป็นอดีต
ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
การเขียนรายงานควรมีการเรียงลำดับความ
อย่างเป็นระบบที่ต่อเนื่อง
การวางแผนการเขียนรายงานการวิจัย
การกำหนดแนวคิด
การกำหนดวัตถุประสงค์
การวางโครงเรื่อง
ขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย
การเตรียมเนื้อหาสาระ
การเขียนร่างรายงานการวิจัย
การวางโครงเรื่อง
การบรรณาธิการณ์และปรับปรุงรายงานการวิจัย
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนนำ
ปก
ปกใน
สาระเหมือนปกนอกทุกประการ
ปกนอก
ให้ระบุชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย ปีที่ทำวิจัย
บทคัดย่อ
ระบุสาระโดยย่อ
วัตถุประสงค์
วิธีการดำเนินการวิจัยโดยย่อ
สรุปผลการวิจัย
ความยาวเนื้อหาไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ
ซึ่งแบ่งเป็น 3 ย่อหน้า
ให้ระบุชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ปีที่ทำการวิจัย
อาจจัดทำบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ
เพื่อใช้เผยแพร่ในระดับสากล
กิตติกรรมประกาศ
เป็นส่วนที่ว่าด้วยการขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน
ที่ให้ความช่วยเหลือในการทำวิจัย
สารบัญ
โดยระบุเลขหน้าให้ชัดเจนตรงกับเนื้อหาภายในเล่มเพื่อสะดวกต่อการสืบค้นขณะอ่าน
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
วิจัยบางเรื่องอาจมีข้อมูลหรือภาพที่ต้องการนำเสนอค่อนข้างมาก เพื่อความสะดวกในการสืบค้นหรืออ้างอิง ผู้วิจัยควรจัดทำ
สารบัญตารางหรือสารบัญภาพไว้ด้วย
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและ
ความสำคัญของปัญหา
ควรใช้ข้อมูลอ้างอิง เพื่อให้มีน้ำหนัก
ควรเขียนให้เข้าใจง่าย
เขียนให้ตรงประเด็น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ต้องเขียนให้ชัดเจนและสอดคล้องกับปัญหาวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และสิ่งที่ทำวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
ควรมีทฤษฎีหรืองานวิจัยสนับสนุน
ไม่ควรตั้งตามการคาดคะเนของผู้วิจัย
ขอบเขตการวิจัย
เป็นการระบุสิ่งที่ศึกษาให้ชัดเจน
การเขียนนิยามศัพท์เฉพาะ
โดยคำที่นำมานิยามศัพท์เฉพาะต้องเป็นคำที่ใช้
ในความหมายแตกต่างจากความหมายทั่วไป
การเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
เพื่อแสดงความสัมพันธ์ในลักษณะต่าง ๆ
ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา
บทที่ 2 เอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ต้องค้นคว้าเนื้อหาสาระเกี่ยวกับตัวแปรต้นและตัวแปรตาม รวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
แบบวิจัย
เป็นสิ่งกำหนดการวัด การใช้กลุ่มตัวอย่าง และสถิติที่ใช้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการทดลอง
ว่าครบถ้วนเหมาะสมหรือไม่เพียงใด
การวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อหาคำตอบให้ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 4 ผลการวิจัย
ต้องรายงานตามข้อมูลที่ได้โดยไมม่สอดแทรก
ความคิดเห็นของผู้วิจัย
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
อภิปรายผล
เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้วิจัยได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
ข้อเสนอแนะ
เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านนำผลวิจัยไปใช้
สรุปผลการวิจัย
ซึ่งจะสรุปเป็นข้อ ๆ ตามวัตถุประสงค์การวิจัย
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนท้าย
บรรณานุกรม
เป็นการรวบรวมรายการที่ใช้อ้างอิงในการรายงานการวิจัย ควรนำเสนอเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
การเขียนภาคผนวก
เป็นรายการเอกสารหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย
ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าควรนำเสนอไว้
การเขียนประวัติผู้วิจัย
เป็นการบอกรายละเอียดของผู้วิจัยเกี่ยวกับวัน เดือน ปี สถานที่เกิด การศึกษาในระดับต่าง ๆ และประวัติการทำงาน