Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, นางสาวบุษยา…
บทที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทของสถิติ
สถิติอนุมาน
สถิติพาราเมตริก
สถิตินันพาราเมตริก
สถิติบรรยาย หรือ สถิติพรรณนา
สถิติว่าด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
หลักการเลือกใช้สถิติ
จำนวนกลุ่มของประชากรที่ศึกษา
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
จำนวนตัวแปรที่ศึกษา
ความต่างระดับของหน่วยการวิเคราะห์
สเกลการวัดค่าของตัวแปร
ความสอดคล้องข้องข้อมูลกับข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติวิเคราะห์ที่จะใช้
การเก็บข้อมูลครั้งเดียว หรือเก็บข้อมูลหลายช่วงเวลา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ
แบ่งตามสเกลการวัดข้อมูล
ข้อมูลที่วัดในสเกลเรียงลำดับ
ข้อมูลที่วัดในสเกลอันตรภาค หรือ สเกลช่วง
ข้อมูลที่วัดในสเกลนามบัญญัติ
ข้อมูลที่วัดในสเกลอัตราส่วน
แบ่งตามคุณสมบัติของค่าที่วัดได้
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลเชิงปริมาณแบบต่อเนื่อง
ข้อมูลเชิงปริมาณแบบไม่ต่อเนื่อง
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล
จะต้องวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความหมายของข้อมูล
หมายถึง ข้อเท็จจริงที่มีการรวบรวมไว้และมีความหมายเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่สนใจ
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
เป็นการหาค่าหนึ่งที่เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดนั้น ๆเพื่อนำมาอธิบายภาพรวมของข้อมุลชุดนั้น
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
มัธยฐาน
ฐานนิยม
การวัดการกระจาย
เป็นการหาค่าค่าหนึ่งเพื่อบอกว่าข้อมูลชุดนั้นมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใด
วิธีการวัดการกระจายที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ค่า
พิสัย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สัมประสิทธิ์การแปรผัน
การแจกแจงความถี่ ร้อยละ
การแจกแจงความถี่แบบสองทาง
การนำตัวแปรสองตัวมาแจกแจงความถี่พร้อมกันแล้วนำเสนอในตารางเดียวกัน
การแจกแจงความถี่แบบทางเดียว
การนำข้อมูลของตัวแปรหนึ่งตัวมาจัดให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ แล้วนับจำนวนความถี่
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอนุมาน
การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน
การวิเคราะห์วามแปรปรวนทางเดียว
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
จะนำเสนอเกี่ยวกับวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการทดสอบไค-สแควร์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์กรณีตัวแปรเชิงคุณภาพ
ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว
นางสาวบุษยา หลำริ้ว รหัสนักศึกษา 611120112 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย