Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต 2 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต 2
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล7มเหลวอย;างรวดเร็วจากการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ การเต7นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของpreload และafterload
สาเหตุ
สาเหตุหลัก
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
ปัจจัยกระตุ้น
ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด
เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่พอ
ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น การใช้ยาไม่สมํ่าเสมอ การควบคุมปริมาณเกลือในอาหารไม่เพียงพอ ภาวะนํ้าเกิน หลอดเลือดปอดอุดตัน โรคติดเชื้อ ภาวะโลหิตจาง
อาการและอาการแสดง
Acute decompensated heart failure
Hypertensive acute heart failure
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
High output failure
Right heart failure
การรักษา
การลดการทํางานของหัวใจ
การดึงนํ้าและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
การรักษาสาเหตุ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ ไดแก่ CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
การลดการทํางานของหัวใจ
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
ดูแลการทํางานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ําและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
1 more item...
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ โดยประเมินอัตราการเต้นของหัวใจก่อน หากอัตราการเต้นของหัวใจ ต่ํากว่า 60 ครั้ง/นาที งดให้ยาและรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุม จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
ดูแลจํากัดกิจกรรมแบบสมบูรณT (Absolute bed rest)
ดูแลควบคุมอาการปวดโดยให้ยาตามแผนการรักษา
ดูแลช่วยให้ได้รับการใส่เครื่องพยุงหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาขับปnสสาวะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลจํากัดสารนํ้าและเกลือโซเดียม
ดูแลจัดท่านอนศรีษะสูง
ดูแลจํากัดกิจกรรมแบบสมบูรณ์ (Absolute bed rest)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยง / ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ได้รับอาหารและพลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยจากการหอบเหนื่อย
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่่ การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจ
มีความต้องการพลังงานมากขึ้น เนื่องจาก มีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต / หายใจหอบเหนื่อย / เบื่ออาหาร
ภาวะช็อก
(Shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่ร่างกายเกิดความผิดปกติจากกลุ่มอาการต่างๆ หรือความผิดปกติจากทางสรีรวิทยาเป็นผลให้เกิดการไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอทําให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ เสียสมดุลของการเผาผลาญระดับเซลล์อวัยวะต่างๆขาดออกซิเจนและสูญเสียหน้าที่
ประเภทของช็อก
2. ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
3. ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
เป็นภาวะช็อกที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว ทําให้เกิดการลดลงของแรงต้านทานของหลอดเลือด
Septic shock
Anaphylactic shock
Hypoadrenal /adrenocortical shock
4. ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือด
เข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
5. ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
ภาวะช็อกนี้เป็นความผิดปกติทางพลศาสตร์การไหลเวียนโลหิต จากความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด
1. ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํำ(Hypovolemic shock)
เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ํำในร่างกาย (การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด) ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจลดลง
ระยะของช็อก
1. ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ภาวะช็อกที่ได7รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น ได้รับการรักษาทั้งการให้สารนํ้าและยาที่เหมาะสม ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
3. ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
(Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก การรักษาในระยะนี้มักจะไม่ได้ผล ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูง
2. ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทํางานของอวัยวะต่างๆลดลง ก่อนได้รับการรักษาที่เหมาะสม การรักษาจะใช้เวลามากขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อนจากอวัยวะล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ ตับวาย
หายใจ
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา
ระบบหายใจล้มเหลว
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย เม็ดเลือดขาวทํางานบกพร่อง
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว ผิวหนังเย็นซีด
ต่อมไร้ท่อ
น้ํำตาลในเลือดสูงหรือต่ํำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
การรักษา
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การให้สารน้ํำ ได้แก่ Crystalloid solution เพื่อเพิ่มปริมาตรของสารน้ํำในหลอดเลือด
การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ และการหดตัวของหลอดเลือด
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยง / ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
เสี่ยง / การกําซาบเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
เสี่ยง / ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง เนื่องจากการสูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุ / การสูญเสียสารน้ําของร่างกาย / การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังส่วนคอ / การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจผิด / กล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่
1.การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การแก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
การประเมินสภาพ
1. การซักประวัติ
ได้แก่ ประวัติโรคหัวใจ การสูญเสียสารน้ํำ การติดเชื้อ การได้รับการบาดเจ็บ อุบัติเหตุ การใช้ยา ประวัติการแพ้ การใช้แบบประเมินsequential organ failure assessment (SOFA)score หรือ quick SOFA (qSOFA)ในผู้ป่วยที่สงสัยช็อคจากการติดเชื้อ
2. การตรวจร่างกาย
ได้แก่ การประเมินทางเดินหายใจ การประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ การประเมินการไหลเวียนโลหิตและการทํางานของหัวใจ และ การประเมินระดับความรู้สึกตัว เช่น ความดันโลหิต ชีพจร เสียงหัวใจ การโป่งพองของหลอดเลือดดําที่คอ การไหลกลับของหลอดเลือดฝอย การวัดความดันหลอดเลือดดําส่วนกลาง (CVP)การวัดความดันหลอดเลือด pulmonary artery
3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เช่น CBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas, coagulation, specimens culture
การตรวจพิเศษ
เช่น x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound.