Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ข้อมูล การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี - Coggle Diagram
บทที่ 3
ข้อมูล การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี
การประมวลผลข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งสามารถบันทึกไว้อย่างต่อเนื่องและมีความหมายอยู่ในตัว
การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ข้อมูลอักษร
ข้อมูลภาพ
ข้อมูลเสียง
ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว
การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ
ข้อมูลปฐมภูมิ
คือ ข้อมูลที่ได้จากจุดกำเนิดของข้อมูลนั้นๆ เป็นการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรงด้วยวิธีต่างๆ
ข้อมูลทุติยภูมิ
คือ การนำข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมหรือบันทึกไว้แล้วมาใช้งาน ผู้ใช้ไม่จำเปผ้นต้องเก็บรวบรวมหรือบันทึกด้วยตัวเอง จัดเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีตมักผ่านการประมวลผลแล้ว
การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูลเชิงจำนวน
ข้อมูลอักขระ
ข้อมูลกราฟิก
ลักษณะของข้อมูลที่ดี
ความสมบูรณ์ครบถ้วน
ความถูกต้องแม่นยำ
ความกระทัดรัด
ความตรงกะบความต้องการของผู้ใช้
ความต่อเนื่อง
วิวัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุคที่ 1 : การประมวลผลข้อมูล
ยุคที่ 2 : ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ยุคที่ 3 : การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
ยุคที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศหรือยุคไอที
วิชาวิทยาการคำนวณ
วิชาการคอมพิวเตอร์
เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือการประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่
การรู้ดิจิทัล
ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์และสื่อออนไลน์มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสื่อสารการปฏิบัติงานและการทำงานร่วมกัน
กระบวนการวิทยาการข้อมูล
การเพิ่มข้อมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยข้อมูลนั้นบริการแล้วมูลนั้น ต้องเข้าใจกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับการจัดหาและประมวลผลข้อมูลอีกด้วย เพื่อไม่ให้สับสนสามารถดำเนินตามกระบวนการของวิทยาการข้อมูล
ขั้นที่ 1 : การตั้งคำถาม
ขั้นที่ 2 : การรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 3 : การสำรวจข้อมูล
ขั้นที่ 4 : การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นที่ 5 : การสื่อสารและการทำผลลัพธ์ให้เป็นภาพ
ประโยชน์ของระบบการคิดเชิงออกแบบ
ฝึกกระบวนการแก้ไขปัญหาตลอดจนหาทางออกที่เป็นลำดับขั้น
ฝึกความคิดสร้างสรรค์
มีทางเลือกที่หลากหลาย
มีตัวเลือกที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
เกิดกระบวนการใหม่ตลอดจนนวัตกรรมใหม่
มีแผนสำรองในการแก้ปัญหา
องค์กรมีการทำงานอย่างเป็นระบบ