Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF)
คําศัพท์สําคัญที่เกี่ยวข7องกับความดันโลหิตสูงมีดังนี้
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)หมายถึง ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล ที่มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่140 มิลลิเมตรปรอทและความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
Target organ damage(TOD)หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
Cardiovascular disease (CVD)หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย ไม่จําเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ปวยหนัก
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทําลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และKidney failure
สาเหตุ
1.การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกําเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบขึ้นอยู่กับ vascular injury และend organ damage แบ่งเป็นตามระบบต่างๆ ดังนี้ ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทําให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathyจะมีอาการ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว รวมถึงตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD ได้แก่
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ(blurred vision) ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of consciousness) หมดสติ (Coma)ตรวจจอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood)แสดงถึงภาวะไตถูกทําลายในรายที่สงสัยมีภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)ให้คลําชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน
เรียกว่า pseudohypotension
ของแขนข้างที่มี intimal flap ที่ไปอุดหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงแขนข้างนั้น
การรักษา
ผู้ป่วย Hypertensive crisis ต้องให้การรักษาทันทีใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา เป้าหมายเพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ต้องการโดยป้องกันอวัยวะต่างๆไม่ให้ถูกทําลายมากขึ้นและไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure)ลงจากระดับเดิม20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
เมื่อควบคุมความดันโลหิตได้คงที่แล้ว เป้าหมายการรักษาจะเป็นการรักษาสาเหตุที่ทําให้เกิด Hypertensive crisis
ยาลดความดันโลหิตที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside, nicardipine, nitroglycerin, labetalol ยา sodium nitroprussideไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทํางานของตับและไตบกพร่อง
การพยาบาล
1.ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
Neurologic symptoms ได้แก่ สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke.
Cardiacsymptoms ได้แก่ aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
Acute kidney failure อาจจะไมได้เกิดขึ้นทันที BUNCr จะมีค่าขึ้นสูงได้ บ่งบอกถึงไตได้รับผลกระทบจากความดันโลหิตสูง
2, ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside ผสมยาใน D5WและNSS
หลังจากผสมแล้วยาคงตัว 24 ชั่วโมง เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย
หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้ำตาล น้ำเงิน ห้ามใช้ยาเนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาซึ่งจะปล่อย cyanide ออกมา ให้ยาทาง infusion pump เท่านั้นห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดําโดยตรง
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม เช่น การจัดท่านอนให้สุขสบาย
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ภาวะช็อก (Shock)
คําศัพท์สําคัญที่เกี่ยวข7องกับความดันโลหิตสูงมีดังนี้
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)หมายถึง ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล ที่มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่140 มิลลิเมตรปรอทและความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
Target organ damage(TOD)หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
Cardiovascular disease (CVD)หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย ไม่จําเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ปวยหนัก
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทําลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และKidney failure
สาเหตุ
1.การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกําเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบขึ้นอยู่กับ vascular injury และend organ damage แบ่งเป็นตามระบบต่างๆ ดังนี้ ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทําให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathyจะมีอาการ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว รวมถึงตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD ได้แก่
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ(blurred vision) ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of consciousness) หมดสติ (Coma)ตรวจจอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood)แสดงถึงภาวะไตถูกทําลายในรายที่สงสัยมีภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)ให้คลําชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน
เรียกว่า pseudohypotension
ของแขนข้างที่มี intimal flap ที่ไปอุดหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงแขนข้างนั้น
การรักษา
ผู้ป่วย Hypertensive crisis ต้องให้การรักษาทันทีใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา เป้าหมายเพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ต้องการโดยป้องกันอวัยวะต่างๆไม่ให้ถูกทําลายมากขึ้นและไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure)ลงจากระดับเดิม20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
เมื่อควบคุมความดันโลหิตได้คงที่แล้ว เป้าหมายการรักษาจะเป็นการรักษาสาเหตุที่ทําให้เกิด Hypertensive crisis
ยาลดความดันโลหิตที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside, nicardipine, nitroglycerin, labetalol ยา sodium nitroprussideไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทํางานของตับและไตบกพร่อง
การพยาบาล
1.ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
Neurologic symptoms ได้แก่ สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke.
Cardiacsymptoms ได้แก่ aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
Acute kidney failure อาจจะไมได้เกิดขึ้นทันที BUNCr จะมีค่าขึ้นสูงได้ บ่งบอกถึงไตได้รับผลกระทบจากความดันโลหิตสูง
2, ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside ผสมยาใน D5WและNSS
หลังจากผสมแล้วยาคงตัว 24 ชั่วโมง เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย
หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้ำตาล น้ำเงิน ห้ามใช้ยาเนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาซึ่งจะปล่อย cyanide ออกมา ให้ยาทาง infusion pump เท่านั้นห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดําโดยตรง
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม เช่น การจัดท่านอนให้สุขสบาย