Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
(Hypertensive crisis)
ความหมาย
ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล
ที่มีค่าความดัน140/90 มิลลิเมตรปรอท
ในผู้อายุ 18 ปีขึ้นไป
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยาคุมกำเนิด
อาการและอาการแสดง
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรค
ความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ประเมิน ระดับความรู้สึก
ประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบู
มินในปัสสาวะ
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
ในระหว่างได้รับยา
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ได้แก่ : ชีพจร capillary refill อุณหภูมิของผิวหนัง
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac dysrhythmias)
Ventricular tachycardia
ประเภทของ VT
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียน
โลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป`นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
ถูกไฟฟ้าดูด
พิษจากยาดิจิทัลลิส
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและ
รายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำ
เพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปnสสาวะ เพื่อ
ประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Atrial fibrillation
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อค ไฟฟ้า
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
Ventricular fibrillation
สาเหตุ
Hypovolemia, Coronary thrombosis
Hypoxia, Pulmonary thrombosis
Hypokalemia, Toxins, Hydrogen ion
Hyperkalemia, Cardiac tamponade
Hypothermia, Tension pneumothorax
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที คือ หมดสติ ไมjมีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที เนื่องจากการรักษา VF และ Pulseless VT สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟsาหัวใจทันที และการกดหน้าอก
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
(Acute Heart Failure [AHF])
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดได้จากหลายสมมติฐาน ทั้งการคั่งของน้ำและเกลือแร่ ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิต ความผิดปกติทางระบบประสาทและฮอร์โมน ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรัง ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจ ภาวะเหล;านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอาการที่แย่ลง ทำให้มีปริมาณเลือดในหัวใจมากเกินไป ในระยะเวลานานทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น
สาเหตุ
ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด
ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด
การควบคุมปริมาณเกลือในอาหารไม่เพียงพอ ภาวะน้ำเกิน
อาการที่มีอาการแสดงได้ 6 รูปแบบ
Acute decompensated heart failure
Hypertensive acute heart failure
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
High output failure
Right heart failure
อาการและอาการแสดง
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง ท้องอืดโต
แน่นท้อง ปnสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
กิจกรรมการพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ระยะของช็อก
Irreversible shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทำให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก การรักษาในระยะนี้มักจะไม่ได้ผลผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูง
Decompensated shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการ วินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทำงานของอวัยวะต่างๆลดลง ก่อนได้รับการรักษาที่เหมาะสม การรักษาจะใช้เวลามากขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อนจากอวัยวะล้มเหลว
Compensated shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัย ตั้งแต่เริ่มต้น ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ำและยาที่เหมาะสม ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียง เล็กน้อย
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว
(Cardiogenic shock)
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว (Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต
(Hypoadrenal / adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ
(Hypovolemic shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Obstructive shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenic shock)
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดส่วน ปลายหดตัว ผิวหนังเย็นซีด ปัสสาวะออกน้อย
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย เม็ดเลือดขาว
ทำงานบกพร่อง น้ำตาลในเลือดสูง หรือต่ำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
การพยาบาล
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน โดยการติดตามสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง ประเมินระดับความ
รู้สึกตัว อาการเขียวจากริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ABG
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง มีการระบายอากาศที่ดี โดยการดูดเสมหะ จัดท่านอนศีรษะสูง กระตุ้น
ให้หายใจลึกๆ
ส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย