Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจลhมเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure: AHF) - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจลhมเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure: AHF)
สาเหตุ
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค
ภาวะหัวใจวาย
ภาวะความดันโลหิต
สูงวิกฤต
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเป็นภาวะวิกฤตหนึ่งทางระบบหัวใจและหลอดเลือดที่พบบ่อย ผู้ป่วยส่วนใหญ่
มักเป็นผู้ป่วยที่มีการดำเนินของโรคหัวใจวายเรื้อรัง
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน หมายถึง การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจการเต้นของหัวใจผิดจังหวะหรือการเสียสมดุลของ preload และafterload
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ ได้แก่ CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อาการเจ็บหน้าอก อาการหอบเหนื่อย ภาวะบวม การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การพยาบาล เปsาหมายสำคัญคือ การลดการทำงาน
ของหัวใจ และส;งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลลTให7ได7รับออกซิเจนอย;างเพียงพอ
ดูแลติดตามและบันทึกค่า CVP, PCWP
สังเกต/บันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง (keep urine output >= 0.5 ml/kg/hr.)
ดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการนอนหลับพักผ่อน
ดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการพื้นฐาน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
. ดูแลการทำงานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
สอนและแนะนำเทคนิคการผ่อนคลายที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้ป่วย
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
กระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ญาติหรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจโดยประเมินอัตราการเต้นของหัวใจก่อนดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจโดยประเมินอัตราการเต้นของหัวใจก่อน
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจตามแผนการรักษา
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของอาการที่เกิดขึ้นไปในทางที่ดี
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ดูแลควบคุมอาการปวดโดยให้ยาตามแผนการรักษา
ดูแลช่วยให้ได้รับการใส่เครื่องพยุงหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุมจังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
การลดการทำงานของหัวใจ
ดูแลจำกัดสารน้ำและเกลือโซเดียม
ดูแลจัดท่านอนศรีษะสูง
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลจำกัดกิจกรรมแบบสมบูรณ์
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย
การรักษา
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย (Negative fluid balance)
การจำกัดสารน้ำและเกลือโซเดียม
การเจาะระบายน้ำ
การให้ยาขับปัสสาวะ
การใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือด
sodium nitroprusside (NTP)
ยาที่ใช้ในช็อค
adrenaline, dopamine, dobutamine, norepinephrine (levophed)
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
nitroglycerine / isodril (NTG)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
morphine
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
amiodarone
ยาละลายลิ่มเลือด
coumadin
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
digitalis (digoxin)
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
aspirin, plavix, clopidogre
การลดการทำงานของหัวใจ (Decrease cardiac workload)
การให้ออกซิเจน
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
Intra-aortic balloon pump
การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วย
บอลลูน
การรักษาสาเหตุ
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้อ
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนาร
อาการและอาการแสดง
ภาวะนี้เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการแสดงได้ 6 รูปแบบ
Pulmonary edema ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ำร่วมด้วยอย่างชัดเจนสามารถเห็นได้ชัดเจนจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกและมีค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำกว่าร้อยละ 90 ที่บรรยากาศห้องก่อนการรักษา
Cardiogenic shock ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion ถึงแม้จะมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำแล้วก็ตาม
Hypertensive acute heart failure กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ำโดยมีความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วยแต่การทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายยังอยู่ในเกณฑ์ดี
High output failure ภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ มักมีหัวใจเต้นเร็ว ปลายมือเท้าอุ่นรวมกับการมีภาวะน้ำท่วมปอด
Acute decompensated heart failure กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นเฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
Right heart failure ภาวะที่หัวใจด้านขวาทำงานล้มเหลว มีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลงร่วมกับมีการเพิ่มขึ้นของความดันหลอดเลือดดำที่คอ มีการบวมของตับ ร่วมกับมีภาวะความดันโลหิตต่ำ
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ
นอนราบไม่ได้
อ่อนเพลีย
บวมตามแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือต่ำ/สูง
ท้องอืดโต
แน่นท้อง
ปัสสาวะออกน้อย/มาก
หัวใจเต้นเร็ว
หายใจเร็ว
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
ฟ้งได้ยินเสียงปอดผิดปกติ
ในผู้ป่วยบางรายอาจมีเสียงหายใจวี๊ด (Wheezing)
อาจตรวจพบเสียงหายใจลดลงจากการมีน้ำในเยื่อหุ้มปอด
ตรวจพบหัวใจโต ตับโต