Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
29 มกราคม 2565 - Coggle Diagram
29 มกราคม 2565
ศิลปะในการเขียนหนังสือราชการ
และการเขียนรายงานการประชุม
ระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
รองรับระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
รับรองสำเนา และการทำลายหนังสือ
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป
ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน
ระเบียบ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
การจัดเก็บ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ประเภทหนังสือราชการ
หนังสือปรับทับตรา
หนังสือสั่งการ
หนังสือภายใน
ครุฑสูง 1.5 ซม. หน้า 3 ซม. หลัง 2 ซม. บน 1.5 ซม.
ย่อหน้า 2.5 ซม. ระยะห่างพารากราฟ 6 pt
จึงเรียนมาเพื่อโปรด... บน 12 pt ล่าง 4 Enter
หัวเรื่องตัวหนา ขนาด 20
หนังสือประชาสัมพันธ์
หนังสือภายนอก
ครุฑสูง 3 ซม. หน้า 3 ซม. หลัง 2 ซม. บน 1.5 ซม.
ย่อหน้า 2.5 ซม. ระยะห่างพารากราฟ 6 pt
ขอแสดงความนับถือ บน 12 pt ล่าง 4 Enter
เรื่อง 2 เคาะ เลขหน้า - 2 -
หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือ
รับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
การบริหารงานเอกสาร
จัดทำ/ รับ/ ส่ง/ เก็บรักษา/ ยืม/ ทำลาย
คุณลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
สารบรรณที่ดี
เข้าใจระเบียบ / นักสังเกต รอบรู้ / ขยัน /
ละเอียดรอบคอบ / หาควารรู้เสมอ / รู้งานธุรการและประสานงาน / พัฒนาอยู่เสมอ / เก็บหนังสือให้เป็นระบบดี
โครงสร้าง 4 ส่วน
เหตุที่มีหนังสือไป
ส่วนนำ > เคยติดต่อ ตาม ตามที่
ตามหนังสืออ้างถึง "นั้น" ปิดท้าย
ส่วนเนื้อหา > บอกความต้องการ
ส่งท้าย > จุดประสงค์ที่มีหนังสือไป
จุดประสงค์ที่มี
หนังสือไป
เขียนให้ตรงลักษณะและความมุ่งหมาย
เขียนแจ้งจุดประสงค์ให้ชัดเจน
เขียนโดยใช้ถ้อยคำให้เหมาะสม
ตามสมควรแก่กรณี
หัวหนังสือ
เรื่อง
1.1 รู้ใจความที่สั้นที่สุด
1.2 สะดวกแก่การเก็บค้นอ้างอิง
คำขึ้นต้น
2.1 พระ กราบทูล / นมัสการ
2.2 ประธาน... กราบเรียน
2.3 ทั่วไป เรียน
อ้างถึง
อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้าย
เว้นแต่เรื่องสำคัญที่อยากอ้างถึง
สิ่งที่ส่งมาด้วย
ชื่อสิ่งของ เอกสาร บรรณสาร
ที่ส่งไป แจ้งด้วยว่าส่งไปทางใด
ท้ายหนังสือ
หนังสือภายนอก ใช้ตามฐานะ
ของผู้รับหนังสือ
หนังสือภายในไม่มี “คำลงท้าย”
หลักภาษาไทยสำนวน
ติดต่อราชการ
การใช้คำเชื่อม
การใช้คำสรรพนาม
การใช้คำบุพบท
การใช้คำ
การใช้คำหนัก เบา
การใช้เครื่องหมาย
การใช้เลขไทย
กำหนดการ -
หมายกำหนดการ
ร่าง ตรวจร่าง เกษียน
และการเขียนบันทึก
การร่างหนังสือ
การเรียบเรียงข้อความ ขั้นตอน
แจ้งความประสงค์ไปยังผู้รับ
การตรวจร่างหนังสือ
รูปแบบ เนื้อหา ภาษา
การเกษียนหนังสือ
สั่งการ ความเห็น ลงลายมือชื่อ
บันทึก มี 4 ประเภท
บันทึกย่อเรื่อง
บันทึกรายงาน
บันทึกความเห็น / บันทึกเสนอ
บันทึกติดต่อและสั่งการ
การเขียนรายงานการประชุม :
รายละเอียดหรือสาระของการประชุม
ที่จดไว้อย่างเป็นทางการ (เลขานุการเป็นคนทำ)
องค์ประกอบ
เรื่องที่ประชุม
ผู้มาประชุม
ผู้ไม่มาประชุม (ถ้ามี)
ผู้เข้าร่วมประชุม (ถ้ามี)
เริ่มประชุมเวลา
ข้อความ
เลิกประชุมเวลา
ผู้จดรายงานการประชุม
ผู้ตรวจรายงานการประชุม (ถ้ามี)
ผู้รับรองรายงานการประชุม (ถ้ามี)
ระเบียบวาระการประชุม
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
เรื่องการรับรองรายงานการประชุม
(ครั้งแรกไม่ต้องใส่)
เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมทราบ
เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)
การจดรายงานการประชุม
ทุกคำพูด + มติ
ย่อคำพูด ประเด็น เหตุผล + มติ
เหตุผล + มติ
การรับรองรายงานการประชุม
ครั้งนั้นเลย (เร่งด่วน) สรุปอนุมัติเลย
ครั้งต่อไป
แจ้งเวียน (ครั้งเดียว / นาน)
การเขียนหนังสือราชการที่ดี
ถูกต้อง / ชัดเจน / รัดกุม / กระทัดรัด
บรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี
การเว้นวรรค
วรรคเล็ก เว้น 1 พยัญชนะ
บริษัท ธนาคาร ชื่อกับนามสกุล
วรรคใหญ่ เว้น 2 พยัญชนะ
จบข้อความแต่ละประโยค
ไม่เว้นวรรค คำนำหน้าชื่อ
คำนำหน้าชื่อที่เป็นตำแหน่ง
หรืออาชีพ
เทคนิคการเขียน
หนังสือราชการ
หนังสือขอ
ความร่วมมือ
แจ้งวัตถุประสงค์ / ให้เหตุผลในการขอความร่วมมือ
ชี้ความสำคัญของผู้รับและระบุประโยชน์ที่ได้รับ /
แสดงความหวังและขอบคุณที่ร่วมมือ
หนังสือตอบรับ
รับอะไร เท่าไหร่ / แสดงความเต็มใจ /
ขอบคุณกรณีได้รับสิ่งของ
หนังสือตอบ
ปฏิเสธ
ไม่ควรปฏิเสธทันที / ชื่นชม + ชี้คุณค่าของความร่วมือ /
ให้เหตุผลที่ชัดเจน / ให้ความหวังในโอกาสต่อไป
หนังสือตอบ
ข้อสอบถาม
ตอบให้ครบทุกคำถาม / ตอบไม่ได้แสดงความเสียใจ
และแนะนำให้ไปหาข้อมูลจากที่อื่น
หนังสือเชิญ
แจ้งวัตถุประสงค์ / ให้ความสำคัญแก่ผู้ได้รับเชิญ /
ให้รายละเอียดครบถ้วน ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด /
แสดงความหวังและขอบคุณ
คำแนะนำเกี่ยวกับ
การเขียนที่เป็นทางการ
ไม่ใช้คำแสลง / คำที่มาจากหนังสือพิมพ์ / คำภาษาถิ่น /
คำอุทาน / คำย่อ / คำยาก / คำซ้ำ (รูป เสียง) /
คำหรูเกินไป / คำฟุ่มเฟือย / คำที่มีความหมายกำกวม /
ความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จำเป็นต่อ
การปฏิบัติรำชกำร & สมรรถนะหลัก
5 ด้านของข้าราชการพลเรือนสามัญ
สมรรถนะ > ผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในองค์การ
ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ
ความรู้ความสามารถที่จำเป็น > ทั่วไปมี 4 ระดับ / วิชาการมี 5 ระดับ /อำนวยการและบริหารมี 3 ระดับ
ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ 5 ระดับ
ทักษะที่จำเป็น > คอมพิวเตอร์ 5 ระดับ /
ภาษาอังกฤษ 5 ระดับ / การคำนวณ 5 ระดับ /
การจัดการข้อมูล 5 ระดับ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐแนวใหม่
ความคุ้มค่า
ความรับผิดชอบ
การทำงานโดยยึดผลลัพธ์
ความสามารถตอบสนอง ความต้องการของสังคม และประชาชนผู้รับบริการ
วัตถุประสงค์ของ
สมรรถนะ
การประเมินผลงาน
การพัฒนาศักยภาพในระยะยาว
ปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่ง
ประเภทของสมรรถนะ
สมรรถนะทางการบริหาร มี 6 สมรรถนะ
สภาวะผู้นำ, วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ, ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน, การควบคุมตนเอง, การสอนงานและมอบหมายงาน
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ให้ส่วนราชการกำหนดอย่างน้อย 3 สมรรถนะ
สมรรถนะหลัก มี 5 สมรรถนะ
การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)
การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity)
การบริการที่ดี (Service Mind)
ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
The Visionary (กลุ่มที่ 3)
บทที่ 5 แย่แค่ไหนก็กลับมาดีได้
ดินเป็นทรัพยากรที่สำคัญมากกว่าน้ำ
มุมมองด้านปัญหา เจอปัญหาควรแก้ไข อย่าหนีปัญหา ยอมรับ เข้าใจ และเปลี่ยนแปลง ไม่ใช้ตัดทิ้ง
มุมมองด้านแก้ไขและพัฒนา ขอคำแนะนำจากผู้
เชี่ยวด้านนั้นๆ ร่วมมือกัน ทดลอง ลงมือทำ หาตัวช่วย