Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
29 มกราคม 2565 - Coggle Diagram
29 มกราคม 2565
หลักภาษาไทย
สำนวนติดต่อราชการ
การใช้คำเชื่อม
การใช้คำสรรพนาม
การใช้คำบุพบท
การใช้คำ
การใช้ คำหนัก - คำเบา
การใช้เครื่องหมาย
การใช้เลขไทย
กำหนดการ-หมายกำหนดการ
ร่าง ตรวจร่าง เกษียน
และการเขียนบันทึก
การร่าง
ขึ้นต้นใจความที่เป็นเหตุก่อน
ตามด้วยความประสงค์และข้อตกลง
อ้างถึงบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ
คำสั่ง หรือตัวอย่าง ต้องระบุให้ชัดเจน (ถ้ามี)
ใช้ถ้อยคำสั้น กระชับ เข้าใจง่าย
การร่างหนังสือโต้ตอบ = การอ้าง การเท้าความ
ต้องพิจารณาว่าผู้รับหนังสือ ทราบมาก่อนหรือไม่
การร่างหนังสือสั่งการ = ต้องรัดกุมในการใช้คำ
คำสั่งต้องไม่ขัด กับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
การตรวจร่างหนังสือ
ตรวจรูปแบบ
ตรวจเนื้อหา
ตรวจภาษา
การเกษียนหนังสือ
รู้เกี่ยวกับงานในหน้าที่
รู้งานที่เชื่อมโยงของหน่วยงานในองค์กร
ต้องศึกษาเนื้อหารายละเอียดขององค์กร
เลี่ยงการใช้คำฟุ่มเฟือย
บันทึก
บันทึกย่อเรื่อง
บันทึกรายงาน
บันทึกความเห็น / บันทึกเสนอ
บันทึกติดต่อและสั่งการ
ความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ และสมรรถนะหลัก 5 ด้าน ของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ความรู้
ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
สำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปมี 4 ระดับ
สำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการมี 5 ระดับ
สำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการและบริหารมี 3 ระดับ
ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ
ทักษะ
การใช้คอมพิวเตอร์ มี 5 ระดับ
การใช้ภาษาอังกฤษ มี 5 ระดับ
การคำนวณ มี 5 ระดับ
การจัดการข้อมูล มี 5 ระดับ
สมรรถนะ
ความหมาย
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมากจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ
คุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลปฏิบัติงานได้โดดเด่นในองค์การ
การนำมาใช้
ในระบบราชการ
การทำงานโดยยึดผลลัพธ์
ความคุ้มค่า
ความรับผิดชอบ
ความสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมและประชาชนผู้รับบริการ
วัตถุประสงค์
เพื่อปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่งให้เอื้อต่อการบริหารงาน
อย่างมีประสิทธิภาพความคุ้มค่า
เพื่อปรับปรุงระบบค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ
ได้รับค่าตอบแทนตามงานเทียบเคียงได้กับภาคเอกชน
เพื่อใช้ประเมินผลงาน
เพื่อใช้พัฒนาศักยภาพในระยะยาว
ประเภท
สมรรถนะหลัก มี 5 สมรรถนะ
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
การบริการที่ดี
การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม
ความร่วมแรงร่วมใจ
สมรรถนะทางการบริหาร มี 6 สมรรถนะ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ให้ส่วนราชการกำหนดอย่างน้อย 3 สมรรถนะ
การเขียน
หนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
การบริหารงานเอกสาร
(จัดทำ/ รับ/ ส่ง/ เก็บรักษา/ ยืม/ ทำลาย)
ระเบียบ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
เพื่อรองรับการปฏิบัติงาน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
รับรองสำเนา
และการทำลายหนังสือ
ระเบียบ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
การจัดทำหนังสือภายใน
(บันทึกข้อความ)
ตั้งค่าหน้ากระดาษ
บน 1.5 cm, ซ้าย 3 cm, ขวา 2 cm
คำว่า "บันทึกข้อความ" ตัวหนา ขนาด 29
คำว่า "ส่วนราชการ" ตัวหนา ขนาด 20
พิมพ์คำขึ้นต้น (1 Enter + Before 6 pt)
โครงสร้างหนังสือ
(4 ส่วน)
ส่วนที่ 1 หัวหนังสือ
การเขียน... เรื่อง คำขึ้นต้น อ้างถึง และสิ่งที่ส่งมาด้วย
ส่วนที่ 2 เหตุที่มีหนังสือไป
ระบุ... สาเหตุ ความเป็นมา รายละเอียด
เนื้อหา ความต้องการ กำหนดวัน เวลา สถานที่
ส่วนที่ 3 จุดประสงค์ที่มีหนังสือไป
เขียนให้ตรงลักษณะ ความมุ่งหมาย
ส่วนที่ 4 ท้ายหนังสือ
หนังสือภายในไม่มีคำลงท้าย
หนังสือภายนอก ใช้ตามฐานะของผู้รับ
การเขียน
รายงานการประชุม
รายงานการประชุมที่ดี
ชัดเจน
กระชับความ
ชี้ให้เห็นถึงความคิดเห็นที่เป็นข้อวินิจฉัยของที่ประชุม
สามารถเป็นแผนปฏิบัติงานได้
ทักษะการจับประเด็น
ในการประชุม
Who ใคร
What ทำอะไร
Where ที่ไหน
When เมื่อไหร่
Why ทำไม
How อย่างไร
ทักษะการจับเจตนา
รายงาน
รายงานการปฏิบัติ ความคืบหน้า
ปัญหา อุปสรรค
แจ้ง
การพูดแจ้งเพื่อให้ทราบ
ชี้แจง
การพูดเพื่อชี้แจงสาเหตุ
เรื่องราวหรือระเบียบปฏิบัติ
แสดงความเห็น
การแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับประเด็นที่พิจารณา
ให้ข้อเสนอ
การให้ข้อเสนอควรทำอะไร
หรืออย่างไร
ถอดบทเรียน The Visionary
บทที่ 5 แย่แค่ไหนก็กลับมาดีได้
มุมมองด้านปัญหา
ปัญหามีอยู่ทุกที่รอบตัวเรา
เมื่อเจอปัญหา ก็ต้องแก้ไข
อย่าหนีปัญหา
เริ่มต้นจากการยอมรับการเจอปัญหา
แล้วเริ่มแก้ไข
มุมมองด้านการแก้ไข
ขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ
ร่วมมือ ช่วยกันแก้ปัญหา
เริ่มแก้จากจุดเล็กๆ
หาตัวช่วยในการแก้ปัญหา
ต้องใช้เวลาในการแก้ไข
ปัญหาที่แก้ไม่ได้ให้ปล่อยวาง และตัดทิ้ง
การเว้นวรรค
การเว้นช่องระหว่างคำ ข้อความ หรือประโยคช่วงหนึ่ง
แบ่งเป็น
เล็ก = ระยะห่างเท่าพยัญชนะ 1 ตัว
ใหญ่ = ระยะห่างเท่าพยัญชนะ 2 ตัว