Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
(Hypertensive crisis)
คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับความดันโลหิตสูง
Target organ damage (TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
Cardiovascular disease (CVD)
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
BP 140/90 mmhg
Hypertensive urgency
ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรง
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว;า 180/120 mmhg
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
Acute or chronic renal disease
อาการและอาการแสดง
ขึ้นอยู่กับ vascular injury และ end organ damage
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
CBC
ตรวจการทำงานของไต
การพยาบาล
1.เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูล
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
การทำงานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
หรือการเสียสมดุลของ preload และafterload
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
Hypertensive acute heart failure
High output failure
Acute decompensated heart failure
Right heart failure
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง ท้องอืดโต แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง Lung crepitation, Pulmonary congestion, Wheezing
การรักษา
การลดการทำงานของหัวใจ (Decrease cardiac workload)
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
การรักษาสาเหตุ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ ได7แก่ CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกายและความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ภาวะช็อก (Shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยาส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลง
กลุ่มอาการทางคลินิกที่เกิดจากการไหลเวียนโลหิตไปยังเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ ไม่เพียงพอ
ระยะของช็อก
Compensated shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น
Decompensated shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย
Irreversible shock
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จน
ทำให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหาย
ประเภทของช็อก
Hypovolemic shock
การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด
Cardiogenic shock
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
สาเหตุภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
สาเหตุการเกิดดังนี้
Septic shock
Anaphylactic shock
Hypoadrenal / adrenocortical shock
Obstructive shock
Neurogenic shock
อาการและอาการแสดง
มักแสดงถึงการบกพร่องของการไหลเวียนโลหิต เนื้อเยื่อต่างๆได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ร่วมกับมีภาวะความดันโลหิตต่ำ
การรักษา
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ โดยกำหนดเป้าหมายให้ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP) มากกว่าหรือเท่ากับ 65 mmHg
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas, coagulation, specimens culture
การตรวจพิเศษ เช;น x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound.
การพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF)
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Permanent AF
Recurrent AF
Persistent AF
Lone AF
Paroxysmal AF
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรู้มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิด
การเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Sustained VT
Monomorphic VT
Nonsustained VT
Polymorphic VT
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
Digitalis toxicity
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย