Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศิลปะการเขียนหนังสือราชการ และรายงานการประชุม 29 มกราคม 2565 - Coggle…
ศิลปะการเขียนหนังสือราชการ
และรายงานการประชุม
29 มกราคม 2565
หลักการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๒) เพื่อรองรับการปฏิบัติงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
(ฉบับที่ ๓) เพื่อรับรองสำเนา และการทำลายหนังสือ
(ฉบับที่ ๑)
ประเภทหนังสือราชการ
การบริหารงานเอกสาร
จัดทำ/ รับ/ ส่ง/ เก็บรักษา/ ยืม/ ทำลาย
(ฉบับที่ ๔) ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์/การจัดเก็บ/ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
โครงสร้าง
หัวหนังสือ
การเขียนคำขึ้นต้น
การเขียนอ้างถึง
การเขียนเรื่อง
ขึ้นต้นด้วยกริยา
ยกเว้นที่ตอบการ “ให้” หรือ “การปฏิเสธ”
ไม่ควรใช้ชื่อเรื่องที่ไม่พึงประสงค์
เก็บค้นอ้างอิงได้ง่าย
แยกความแตกต่างจากเรื่องอื่นได้
การเขียนสิ่งที่ส่งมาด้วย
ท้ายหนังสือ
= หนังสือภายในไม่มี “คำลงท้าย” + คำลงท้ายของหนังสือภายนอกใช้ตามฐานะของผู้รับหนังสือ
เหตุที่มีหนังสือไป
โครงสร้าง
ระบุเนื้อหา หรือ ความต้องการ
ระบุรายละเอียดของเรื่อง
ระบุสาเหตุหรือความเป็นมาของเรื่อง
ระบุกำหนดวัน เวลา สถานที่ (ถ้ามี)
องค์ประกอบ
ส่วนเนื้อหา
= ความต้องการ หรือสาเหตุจุดประสงค์ ขอความช่วยเหลือ การแจ้งเพื่อทราบ
ส่วนท้าย
= ประโยคสั้น ๆ สรุป เน้นย้ำ ขอบคุณ ไม่ควรมีเนื้อหาสำคัญอยู่ในส่วนนี้อีก หรืออาจระบุจุดประสงค์ที่มีหนังสือ
ส่วนนำ
= เคย หรือไม่เคยติดต่อกันมาก่อน
จุดประสงค์ที่มีหนังสือไป
หลักการเขียน
เขียนแจ้งจุดประสงค์ให้ชัดเจน
เขียนให้ตรงลักษณะและความมุ่งหมาย
ใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมตามสมควรแก่กรณี
หลักภาษาไทย
สำนวนติดต่อราชการ
การใช้คำเชื่อม
การใช้สรรพนาม
การใช้คำบุพบท
การใช้คำ
การใช้เครื่องหมาย
การใช้เลขไทย
กำหนดการ-หมายกำหนดการ
ลักษณนามของคำว่า “เอกสาร”
การเขียน
รายงานการประชุม
ผู้จดรายงานการประชุม
: เลขานุการ/ผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย
ผู้จัดทำรายงานการประชุม
: เลขานุการ
จดรายงานการประชุม
: จดละเอียดทุกคำพูด+มติ/จดย่อคำพูดที่เป็นประเด็น +เหตุผล+มติ/จดแต่เหตุผล+มติของที่ประชุม
ลักษณะรายงานการประชุมที่ดี
: ชัดเจน/กระชับ/ชี้ให้เห็นถึงความคิดเห็นที่เป็นข้อวินิจฉัยของ
ที่ประชุม ป้องกันความสับสนในเรื่องที่มีการตกลง/สามารถเป็นแผนปฏิบัติงานได้
องค์ประกอบ
: ประธาน/เลขานุการ/หนังสือเชิญประชุม/ระเบียบวาระการประชุม/ญัตติ/องค์ประชุม/มติ/มติ/รายงานการประชุม
การเว้นวรรค
ประเภทการเว้นวรรค
การเว้นวรรคเล็ก
: ระยะห่างเท่าพยัญชนะ 1 ตัว
การเว้นวรรคใหญ่
: ระยะห่างเท่าพยัญชนะ 2 ตัว +เว้นเมื่อจบข้อความแต่ละประโยค
ไม่เว้นวรรค
เทคนิคการเขียนหนังสือราชการ
ไม่ใช้คำที่มีความหมายขัดแย้งกัน
ไม่ใช้คำที่มีความหมายกำกวม
ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย
ใช้คำที่คนทั่วไปยอมรับ
หลีกเลี่ยงคำที่ไม่เป็นทางการ
ร่าง ตรวจร่าง เกษียน
และการเขียนบันทึก
เกษียน
เลขานุการผู้ปฏิบัติงานช่วยผู้บังคับบัญชา
การเกษียนหนังสือราชการ ของ ผู้บังคับบัญชา
การเขียนบันทึก
บันทึกย่อเรื่อง
บันทึกรายงาน
บันทึกความเห็น / บันทึกเสนอ
บันทึกติดต่อและสั่งการ
ตรวจ
ตรวจภาษา
ตรวจเนื้อหา
ตรวจรูปแบบ
การร่าง
ถ้าอ้างถึงกฎหมาย ต้องระบุให้ชัดเจน
ถ้อยคำสั้น กระชับ เข้าใจง่าย
ขึ้นต้นใจความที่เป็นเหตุก่อน
หนังสือโต้ตอบ
หนังสือสั่งการ