Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การให้ข้อมูลย้อนกลับ, นายธนกร เอกบุตร 62021000 - Coggle Diagram
บทที่ 9
การให้ข้อมูลย้อนกลับ
ลักษณะของข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
1.มีความเกี่ยวข้อง
สมาชิกในองค์กรจะใช้ข้อมูลเพื่อการแก้ปัญหา ถ้าข้อมูลนั้นมีความหมายหรือมีความเกี่ยวข้อง
ความเกี่ยวข้องสามารถเพิ่มขึ้นได้โดยการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการ และพนักงาน ในการเก็บข้อมูลเริ่มแรก
2.สามารถเข้าใจได้
การนำเสนอข้อมูลแก่สมาชิกในองค์กรจะต้องทำในรูปแบบของข้อมูลที่มีการตีความหมาย(แปลความหมาย) แล้ว
3.มีรายละเอียด
ข้อมูลย้อนกลับควรมีตัวอย่าง และมีรายละเอียด เพื่อทำให้สมาชิกรู้สึกดีกับข้อมูล
4.รวดเร็ว
ข้อมูลย้อนกลับควรมีตัวอย่าง และมีรายละเอียด เพื่อทำให้สมาชิกรู้สึกดีกับข้อมูล
5.ตรวจสอบได้
ข้อมูลย้อนกลับควรเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง เที่ยงตรง
สมาชิกตรวจสอบได้ว่าสิ่งที่ OD Practitioner พบเป็นสิ่งที่เกิดจริง
6.มีขีดจำกัด
ไม่ควรมีมากเกินไป
ควรเป็นข้อมูลที่พนักงานสามารถดำเนินการได้จริงในเวลาใดเวลาหนึ่ง
7.สำคัญ
ควรจำกัดอยู่แค่ปัญหาที่สมาชิกสามารถแก้ไขได้ เพื่อมีส่วนช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นจริง
8.มีการเปรียบเทียบ
ควรมีข้อมูลจากกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อให้สมาชิกเกิดแนวคิดใหม่ๆ
9.ไม่มีสิ้นสุด
ข้อมูลย้อนกลับเป็นเพียงจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้นให้เกิดการกระทำต่างๆ เช่น ก่อให้เกิดการอภิปรายเชิงลึก
ลักษณะของกระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี
1.ทำให้เกิดความจูงใจที่จะทำงานกับข้อมูล
Feedback ที่ดีจะต้องก่อให้เกิดความรู้สึกว่าข้อมูลมีประโยชน์
อยากให้ข้อมูลเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
2.จัดโครงสร้างการประชุม
การประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับต้องมีโครงสร้าง
หรืออาจก่อให้เกิดความวุ่นวายหรือไร้จุดหมาย(ถ้าไม่มีโครงสร้าง)
ต้องมี Out line
หัวข้อประชุม
หัวหน้านำการอภิปราย เพื่อกำหนดทิศทางการประชุม
3.มีผู้เข้าร่วมประชุมที่เหมาะสม
บุคคลที่มีปัญหาเหมือนกันและได้ประโยชน์จากการทำงานร่วมกันจะต้องเข้าร่วมประชุม
อาจจะประกอบด้วยสมาชิกจากแผนกที่แตกต่างกัน หรือจากสายบังคับปัญหาระดับต่างๆ
4.อำนาจที่เหมาะสม
เมื่อใดที่ตนเองสามารถทำการเปลี่ยนแปลงได้
เมื่อใดตนเองสามารถทำได้แค่ให้ข้อคิดเห็น
เมื่อใดตนเองควบคุมอะไรไม่ได้เลย
5.กระบวนการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ในการประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับต้องการการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
เมื่อมีข้อมูลทางลบ
สมาชิกอาจจะพูดแต่สิ่งที่จะปลอดภัยกับตัวเอง
OD Practitioner ต้องใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มเพื่อช่วยให้สมาชิกอยู่ในประเด็นที่ต้องการ และให้กระบวนการอภิปรายเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับดำเนินต่อไป
Survey Feedback
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลจากองค์กร ภาค/แผนก โดยการใช้แบบสอบถาม
ข้อมูลที่ได้จะถูกวิเคราะห์ และส่งกลับแก่สมาชิกในองค์กร และนำข้อมูลนี้ไปใช้เพื่อวินิจฉัยปัญหาขององค์กร เพื่อสร้าง Intervention
มี 5 ขั้นตอน
1.สมาชิกที่มีส่วนในการวางแผนเริ่มแรก
สมาชิกทุกฝ่ายทุกระดับ
ฝ่ายบริหาร
สมาชิกแผนกต่างๆต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนการสำรวจ ทุกคนต้องทำความเข้าใจอย่างแจ่มชัดว่าจะทำการวินิจฉัยระดับใด และเข้าใจถึงจุดประสงค์ของแบบสำรวจ
2.แบบสำรวจนี้ต้องถามสมาชิกทุกคนในองค์กร หรือแผนก
อาจจะใช้กลุ่มตัวอย่างแทนถ้าต้องการประหยัดค่าใช้จ่าย
3.ผู้วิเคราะห์ข้อมูลควรเป็น OD Practitioner
วิเคราะห์ข้อมูล
นำเสนอผลในรูปตาราง
เสนอแนะแนวทางการวินิจฉัย
ฝึกอบรมสมาชิกองค์กรให้เป็นผู้นำในกระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับ
4.การให้ข้อมูลย้อนกลับควรให้จากบนสู่ล่าง
5.การประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับเปิดโอกาสสมาชิกได้ทำงานร่วมกัน
แปลความหมายข้อมูล
วินิจฉัยปัญหา
พัฒนาแผนปฏิบัติงาน
อภิปรายข้อมูล
นายธนกร เอกบุตร 62021000