Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต :<3: - Coggle…
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต :<3:
1.ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
ความหมาย
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)หมายถึง มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่140 mmHg และไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 mmHg ในผู7ใหญ;อายุ 18 ปRขึ้นไป
Target organ damage(TOD)หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง เช่น การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง หัวใจห้องล่างซ้ายโต
Cardiovascular disease (CVD)หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ โรคหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
1.การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกําเนิด
การซักประวัติ
ซักประวัติโรคประจําตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ประวัติความดันโลหิตสูงในครอบครัว
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
โรคอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง เช่น coarctation,โรคของต่อมหมวกไต และโรคไทรอยด์เป็นพิษเป็นต้น
การสูบบุหี่
สอบถามอาการ (TOD)
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ ปวดศรีษะ (Headache)มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ(blurred vision) ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of consciousness) หมดสติ(Coma)
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด มีอาการเจ็บหน้าอก (chest pain) เหนื่อยง่ายแน่นอกเวลาออกแรง ไตวายเฉียบพลัน จะพบว่า ปริมาณปัสสาวะลดลง หรืออาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทําให้เกิดอาการทางสมอง ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่
น้ำท่วมปอด
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
หาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
หมดสติ
ตรวจจอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทําลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood)แสดงถึงภาวะไตถูกทําลาย
รายที่สงสัยมีภาวะ Aortic dissection ให้คลําชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เรียกว่า pseudohypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ(MAHA)
ตรวจการทํางานของไต
ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง ส่งตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
ต้องให้การรักษาทันที่ใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา คือลดความดันโลหิตเฉลี่ยลงจากระดับเดิม20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
การเลือกใช้ยารักษาขึ้นอยู่กับอาการและยาที่มีในโรงพยาบาลได้แก่กลุ่ม
calcium channel blocker
angiotensin-converting enzyme inhibitor
adrenergic blocker
sodium nitroprusside
ห้ามไม่ให้โดนแสงแดด และไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทํางานของตับและไตบกพร่อง
vasodilator
nicardipine
nitroglycerin
labetalol
การพยาบาล
1.ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
การรักษาด้วย sodium nitroprusside ขนาดยาสูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/minผสมยาใน D5WและNSSหลังจากผสมแล้วยาคงตัว 24 ชั่วโมง เก็บยาให้พ้นแสง และตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้ำตาล น้ำเงิน ห้ามใช้ยา
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรัก
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion)
พร่องความรู้ (Deficient knowledge related to lack of previous exposure to information)
2.ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias)
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
3.Permanent AF หมายถึง AFที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
4.Recurrent AFหมายถึง AFที่เกิดซ้ํามากกว่า 1 ครั้ง
2.Persistent AFหมายถึงAF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน
1.Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
5.Lone AF หมายถึง AF ที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ความหมาย
(AF) คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้วเกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus)ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทําให้ atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้ว และคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle ได้ทั้งหมด
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก, ภาวะหัวใจล้มเหลว, ความดันโลหิตสูง, เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ, hyperthyrodism
การพยาบาล
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณีในการทํา Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
6.เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูงในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
1.Nonsustained VT คือ VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30 วินาที
2.Sustained VT คือ VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
3.Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
4.Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
การพยาบาล
1.นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วย และรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ำ
2.คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาวะ
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
4.ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรได้ให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
5.ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
6.ทํา CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง, โรคหัวใจรูห์มาติก, ถูกไฟฟ้าดูด, ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ, พิษจากยาดิจิทัลลิส และ กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ปวยจะรู่้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
ความหมาย
(VT) หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ําเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
Ventricular fibrillation (VF)
ความหมาย
(VF) หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทํา CPR ทันที เนื่องจากการรักษา VFและ Pulseless VTสิ่งที่สําคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
สาเหตุ
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Hypokalemia
Hydrogen ion (acidosis)
Cardiac tamponade
Hypoxia
Toxins
Hypovolemia
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
การพยาบาล
ปsองกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่ออัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ หรือไม่ ถ้าพบให้รายงานแพทย์ทันที
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ทํา CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง (lethal dysrhythmias)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
3.ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ความหมาย
การเกิดการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของ preload และ afterload โดยอาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเดิม (decompensated) หรือแสดงอาการครั้งแรกในผู้ที่ไม่เคยมีโรคหัวใจเดิมอยู่ก็ได้
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติและตรวจร่างกาย ได้แก่ อาการเจ็บหน้าอก อาการหอบเหนื่อย ภาวะบวม การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
3.การตรวจพิเศษ ได7แก; CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
มีเป้าหมายสําคัญคือ การลดการทํางานของหัวใจ และส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกายและความผิดปกติทางด้านจิตใจ
การรักษา
1.การลดการทํางานของหัวใจ(Decrease cardiac workload) เช่น การให้ออกซิเจน, การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
2.การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย (Negative fluid balance) เช่น การให้ยาขับปnสสาวะ
3.การใช้ยา
3.3 ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
3.4 ยาขยายหลอดเลือด
3.2 ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3.5 ยาที่ใช้ในช็อค
3.6 ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
3.7 ยาละลายลิ่มเลือด
3.8 ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
3.1 ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
4.การรักษาสาเหตุ เช่น การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนา
พยาธิสรีรวิทยา
การมีปริมาณเลือดในหัวใจมากเกินไป ในระยะเวลานานทําให้การปรับตัวของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ เกิดพังผืด เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา ร่างกายจึงมีการปรับสมดุล โดยการกระตุ้น baroreceptor reflex ทําให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติก เกิดperipheral vasoconstriction ทําให้มี peripheral resistance เพิ่มมากขึ้น เพิ่ม TPR หัวใจจึงต้องทํางานหนักขึ้นเนื่องจากมี preload เพิ่มขึ้น ร่างกาย preload เพิ่มขึ้นทั้งในปอดและ systemic venous ทําให้เกิดการคั่งของเลือดที่ปอด ความดันหลอดเลือดฝอยที่ปอดเพิ่มขึ้น สารเหลวจากหลอดเลือดซึมเข้าสู่ถุงลม ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำท่วมปอดเกิด congestive heart failure หากหัวใจห้องล่างขวาวาย(right heart failure)จะทําให้เกิดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดทั่วร่างกาย เกิดภาวะน้ำเกิน หัวใจทํางานหนักมากขึ้น อวัยวะต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอจึงมีผลให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่างๆของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการที่มีอาการแสดงได้ 6 รูปแบบ
1.Acute decompensated heart failure
4.Cardiogenic shock
6.Right heart failure
2.Hypertensive acute heart failure
5.High output failure
3.Pulmonary edema
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง
ท้องอืดโต แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อยมาก
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติจากการที่มีเลือดคั่งในปอด ในผู้ป่วยบางรายอาจมีเสียงหายใจวี๊ด(Wheezing) เมื่อมีเลือดคั่งในปอดที่เรียกว่าCardiac wheezing อาจตรวจพบเสียงหายใจลดลง
ตรวจพบหัวใจโต ตับโต
ตัวอย่างข้อวินิจฉัย
1.เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่
2.เสี่ยง / ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
3.ได้รับอาหารและพลังงานไม่เพียงพอกับความต่องการของร่างกาย เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยจากการหอบเหนื่อย
4.มีความต้องการพลังงานมากขึ้น เนื่องจาก มีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจเต้นผิดปก
ภาวะหัวใจวาย กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดําเนินโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
เกิดจากปัจจัยกระตุ้น
1) ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
2) ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น การใช้ยาไม่สม่ำเสมอ การควบคุมปริมาณเกลือในอาหารไม่เพียงพอ ภาวะน้ำเกิน ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs, ยาที่ออกฤทธิ์ต่อหัวใจ,ภาวะทุพโภชนาการ
กิจกรรมการพยาบาล
1.การลดการทํางานของหัวใจ เช่น ดูแลให้ได้รับยาขับปnสสาวะตามแผนการรักษา, ดูแลจํากัดสารน้ำและเกลือโซเดียม
2.การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย เช่น ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุม จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ, ดูแลควบคุมอาการปวดโดยให้ยาตามแผนการรักษา
3.การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจตามแผนการรักษา
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลติดตามและบันทึกค่า CVP, PCWP
สังเกต/บันทึกปริมาณปnสสาวะทุก 1ชั่วโมง (keep urine output >= 0.5 ml/kg/hr.)
4.ภาวะช็อก (Shock)