Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 9 การให้ข้อมูลย้อนกลับ Feeding Back…
Chapter 9
การให้ข้อมูลย้อนกลับ
Feeding Back Diagnostic Information
ลักษณะของข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
ตรวจสอบได้
ข้อมูลย้อนกลับควรเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง เที่ยงตรง
สมาชิกตรวจสอบได้ว่าสิ่งที่ OD Practitioner พบเป็นสิ่งที่เกิดจริง
มีขีดจำกัด
ไม่ควรมีมากเกินไป
ควรเป็นข้อมูลที่พนักงานสามารถดำเนินการได้จริงในเวลาใดเวลาหนึ่ง
รวดเร็ว
ข้อมูลย้อนกลับควรมีตัวอย่าง และมีรายละเอียด เพื่อทำให้สมาชิกรู้สึกดี
กับข้อมูล
สำคัญ
ควรจำกัดอยู่แค่ปัญหาที่สมาชิกสามารถแก้ไขได้ เพื่อมีส่วนช่วยให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นจริง
มีรายละเอียด
ข้อมูลข้อนกลับควรมีตัวอย่าง และมีรายละเอียด เพื่อทำให้สมาชิกรู้สึกดี
กับข้อมูล
มีการเปรียบเทียบ
ควรมีข้อมูลจากกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อให้สมาชิกเกิดแนวคิดใหม่ๆ
สามารถเข้าใจได้
การนำเสนอข้อมูลแก่สมาชิกในองค์กรจะต้องทำในรูปแบบของข้อมูลที่
มีการตีความหมาย(แปลความหมาย) แล้ว
ไม่มีสิ้นสุด
ข้อมูลย้อนกลับเป็นเพียงจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้นให้เกิดการกระทำต่างๆ
เช่น ก่อให้เกิดการอภิปรายเชิงลึก
มีความเกี่ยวข้อง
สมาชิกในองค์กร จะ ใช้ข้อมูลเพื่อการแก้ปัญหา ถ้าข้อมูลนั้นมีความหมาย
หรือมีความเกี่ยวข้อง
ความเกี่ยวข้องสามารถเพิ่มขึ้นได้โดยการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการ และ
พนักงาน ในการเก็บข้อมูลเริ่มแรก
ลักษณะ
ป็นขั้นตอนที่อาจจะกล่าวได้ว่ามีความสำคัญที่สุดของกระบวนการวินิจฉัย
ลักษณะของกระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี
มีผู้เข้าร่วมประชุมที่เหมาะสม
บุคคลที่มีปัญหาเหมือนกันและได้ประ โยชน์จากการทำงานร่วมกัน
จะต้องเข้าร่วมประชุม
อาจจะประกอบด้วยสมาชิกจากแผนกที่แตกต่างกัน หรือจากสายบังคับ
ปัญหาระดับต่างๆ
อำนาจที่เหมาะสม
สมาชิกจะต้องรับร้ขอบเขตอำนาจของตน
จัดโครงสร้างการประชุม
หรืออาจก่อให้เกิดความวุ่นวายหรือไร้จุดหมาย(ถ้าไม่มีโครงสร้าง)
ต้องมี Out line
การประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับต้องมีโครงสร้าง
กระบวนการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
กระบวนการเก็บรวบร วมข้อมูลจากองค์กร ภาค/แผนก โดยการใช้
แบบสอบถาม
ข้ออมูลที่ได้จะถูกวิเคราะห์ และส่งกลับแก่สมาชิกในองค์กร และนำข้อมูล
นี้ไปใช้เพื่อวินิจฉัยปัญหาขององค์กร เพื่อสร้าง Intervention
เมื่อมีข้อมูลทางลบ
ในการประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับต้องการการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ทำให้เกิดความจูงใจที่จะทำงานกับข้อมูล
Feedback ที่ดีจะต้องก่อให้เกิดความรู้สึกว่าข้อมูลมีประโยชน์
อยากให้ข้อมูลเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง