Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ความหมาย
ศึกษาพฤติกรรมที่สามารถสังเกตภายนอกได้
เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม
เชื่อว่าการเรียนรู้ คือการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง และมีตัวเสริมแรง
ไม่ให้ความสำคัญเรื่องกระบวนการทางสมอง
การคิด
การเข้าใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อนำสิ่งเร้าใหม่มาควบคู่กับสิ่งเร้าเดิม
ลักษณะการเรียนรู้ที่สำคัญ
การแผ่ขยาย
ความสามารถที่จะตอบสนองในลักษณะเดิมต่อสิ่งเร้าที่มีความคล้ายกันได้
การจำแนก
ความสามารถในการที่จะจำแนกความแตกต่างของสิ่งเร้าได้
การหยุดยั้ง
การตอบสนองลดน้อยลง เป็นผลจากการที่ไม่ได้รับสิ่งเร้าที่ไม่ได้ถูกวางเงื่อนไข
การฟื้นตัวของการตอบสนองที่วางเงื่อนไข
หลังจากเกิดการลบพฤติกรรมชั่วคราวแล้วสักระยะหนึ่งพฤติกรรมที่ถูกลบเงื่อนไขแล้วอาจฟื้นตัวเกิดขึ้นมาอีก
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง
การลองผิดลองถูกจะนำไปสู่การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
กฎแห่งผล
ให้ความสำคัญกับผลที่ได้หลังจากการตอบสนองแล้ว
ถ้าผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ มีแนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรมมากยิ่งขึ้น
ถ้าผลที่ได้ไม่เป็นที่น่าพอใจ มีแนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรมลดลง
กฎแห่งการฝึก
ให้ความสำคัญกับการฝึก
เมื่อฝึกบ่อยๆ เราจะทำได้ดี
เมื่อขาดการฝึก ย่อมทำไม่ได้ดี
กฎแห่งความพร้อม
เน้นเรื่องความพร้อม ทั้งทางกายและทางจิตใจ
เมื่อพร้อมที่จะทำ แล้วได้ทำ ย่อมเกิดความพอใจ
เมื่อพร้อมที่จะทำ แล้วไม่ได้ทำ ย่อมเกิดความไม่พอใจ
เมื่อไม่พร้อมที่จะทำ แต่ต้องทำ ย่อมเกิดความไม่พอใจ
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติ เพื่อฝึกการแก้ปัญหา
ศึกษาผลหรือรางวัลที่จะได้รับ
สำรวจความพร้อมด้านต่างๆ ก่อนการเรียน
ผู้เรียนควรฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรูู้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การเสริมแรง
การเสริมแรงทางลบ
สิ่งที่นำออกไปแล้วจะทำให้มีการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้น
เจนตั้งใจเรียน ครูจึงให้งดการบ้าน ต่อมาเจนตั้งใจเรียนมากขึ้น
พัดมาโรงเรียนเช้าครูจึงไม่ให้ทำความสะอาดห้องเรียน(ปกติทำทุกวัน) ต่อมาพัดมาโรงเรียนเช้าทุกวัน
การลงโทษ
เป็นการระงับหรือหยุดยั้งพฤติกรรม
คุยกันในห้องเรียน แล้วถูกครูดุ
รังแกน้อง เลยถูกแม่ห้ามเล่นเกม
การเสริมแรงทางบวก
สิ่งที่ก่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้น
ทำการบ้านเสร็จแล้วได้รับอนุญาตให้ไปเล่นได้
กล้าพูดแล้วได้คำชมเชย
พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ของสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า
หลักสำคัญในการให้แรงเสริม
นักเรียนเรียนรู้อะไรมาบ้าง แล้วจึงให้แรงเสริมสิ่งนั้น
ตอนแรกควรเสริมแรงทุกทาง แล้วต่อมาจึงเสริมแรงแบบครั้งคราว
แรงเสริมอาจเป็นขนมหรือรางวัล
ไม่ให้แรงเสริม เมื่อมีการแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม
สำหรับพฤติกรรมที่ซับซ้อนให้ดัดพฤติกรรมด้วยการให้แรงเสริม เมื่อทำได้ใกล้เคียงกับเป้าหมาย
ลดการใช้แรงเสริมลง เพื่อให้ผู้เรียนมีแรงเสริมด้วยตนเองจากการทำงานนั้น