Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypoglycemia, นางสาวนภัสสร พลธานี รหัสนักศึกษา6248100074
นางสาวศรสวรรค์…
Hypoglycemia
อาการ
-
-
-
-
-
-
-
-
อาการและอาการแสดงภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเกิดได้ตั้งแต่ 1-2 ชั่วโมงแรกเกิดจนถึงอายุ 1 สัปดาห์หลังคลอดทารกส่วนใหญ่ไม่มีอาการในรายที่มีอาการมักเป็นกลุ่มของอาการที่ไม่มีลักษณะจำเพาะโดยทั่วไปจะพบอาการดังนี้
-
การพยาบาล
1.ดูแลลทารกให้ได้รับสารละลายกลูโคส 10 % ขนาด 2 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมภายในเวลา 1 นาที เข้า ทางหลอดเลือดดําและตามด้วยยสารละลายกลูโคส ในปริมาณ 6-8 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อนาที
-
3.ตรวจและบันทึกผลของน้ําตาลในเลือด(dextrostix)ทุก4-6ชั่วโมงถ้าต่ำกว่า45 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร รายงานแพทย์
-
5.5.สังเกตอาการของทารกอย่างใกล้ชิดเพื่อดูความเปลี่ยนแปลงและอาการผิดปกติ ได้แก่ ซึม ชัก หยุดหายใจ อาเจียน เป็นต้น เมื่อพบรีบรายงานแพทย์
การพยาบาลตามกรณีศึกษา
1.ตรวจเยี่ยมและประเมินเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ทารกซึมลง ไม่ร้อง นอนหลับตลอดเวลา อาการซีดหรือเขียว เป็นต้น
3.ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำ ได้รับ 10%D/W 10 ml IV push ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
-
-
5.เฝ้าระวังหลังการให้การพยาบาลและสังเกตอาการภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น ติดเชื้อ ภาวะขาดการหายใจ เป็นต้น
การรักษา
การวินิจฉัยและการรักษา
การดูแลรักษากลูโคสที่เป็นแหล่งพลังงานที่สําคัญ ของสมองถ้าสมองขาดกลูโคสเป็นเวลานานจะเกิดความพิการอย่างรุนแรงและถาวรได้
-
-
การรักษา (ตามกรณีศึกษา)
ทารกเพศชายหลังคลอด DTX ได้ 30 mg% แพทย์สั่งให้ On 10%DW 7 ml IV push หลังได้รับ แพทย์สั่งเจาะ DTX= 45 mg% จากนั้นเวลา 9.00 น แพทย์สั่งเปลี่ยนเป็น On 10%DW 500 ml IV rate 10 ml/hr หลังได้รับสารน้ำ ทารกมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ DTX next 1 hr. = 56 mg% 25/1/65แพทย์งดปรับ IV เป็น On 10% DW 500 ml IV rate 10 ml/hr แพทย์สั่งเจาะ DTX= 61 mg% อยู่ในเกณฑ์ปกติแพทย์จึงสั่ง off IV
-
พยาธิสภาพ
ระดับน้ำตาลในเลือดของทารกในครรภ์สัมพันธ์โดยตรงกับระดับน้ำตาลในเลือดของมารดา หากมารดามีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ จะทำให้ทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำไปด้วย ปัจจัยที่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดของมารดา ได้แก่ ดัชนีมวลกาย มารดาที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มักมีกรดไขมันสะสมในกล้ามเนื้อปริมาณมาก เพิ่มการหลั่งอินซูลิน จนเกิดภาวะดื้ออินซูลิน ส่งผลให้ระดับกลูโคสในเลือดของมารดาสูงขึ้น ระดับน้ำตาลที่สูงในมารดาสามารถผ่านรกไปสู่ทารก ทำให้ทารกในครรภ์มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงไปด้วย จนเกิดภาวะดื้ออินซูลิน อินซูลินที่สูงขึ้นจะยับยั้งการหลั่งกลูคากอน ทำให้กระบวนการสลายกลัยโคเจน และกระบวนการสร้างกลูโคสลดลง ทำให้ทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำได้ อัตราการลดลงของระดับกลูโคส ในเลือดของทารกหลังเกิดขึ้นอยู่กับปริมาณของกลัยโคเจนที่สะสมอยู่ในตับและกล้ามเนื้อ ซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับความต้องการใช้พลังงานของทารกแต่ละราย
-