Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความปลอดภัยของวัสดุและผลิตภัณฑ์นาโน - Coggle Diagram
ความปลอดภัยของวัสดุและผลิตภัณฑ์นาโน
กลุ่มที่ 5
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เนื่องจากวัสดุนาโนมีความคงทนสูงกว่าวัสดุแบบดั้งเดิมจึงทำให้มีผลกระ
ทบต่อสิ่งแวดล้อมยาวนานกว่า เมื่อหมดอายุการใช้งานกลายเป็นขยะนาโน ใน
อนาคตหากมีการสะสมของขยะจากผลิตภัณฑ์นาโนเพิ่มขึ้นอย่างมากก็อาจก่อให้
เกิดความเปลี่ยนแปลงความสมดุลของระบบนิเวศได้ยกตัวอย่างเช่น การสะสม
ของอนุภาคนาโนของเงิน (silver nanomaterials) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ อาจ
ส่งผลเสียต่อเชื้อจุลชีพที่มีประโยชน์ในสิ่งแวดล้อมได้ซึ่งถ้าส่วนล่างสุดของห่วงโซ่
อาหารได้รับความกระทบกระเทือนก็จะส่งผลถึงด้านบนสุดของห่วงโซ่อาหาร
ก็คือมนุษย์
ถ้าถิ้งไวในธรรมชาตินานอาจจะทีสัตร์มากินผลิตภัณฑ์นาโนอาจทำให้สัตร์มีสถานะผิดปกติ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
ท่อนาโนคาร์บอน
จากการทดลองกับหนูพบว่าเส้นใยขนาดยาวและบางของ
ท่อนาโนคาร์บอนสามารถแทรกซึมผ่านเข้าไปในปอดได้และ
สามารถสะสมอยู่ในปอดเป็นเวลานาน (biopersistent) ทำให้เกิด
อาการปอดอักเสบและลุกลามกลายเป็นมะเร็งเยื่อหุ้มปอด
อนุภาคนาโนของเงิน
หลังจากที่หนูทดลองได้
รับอนุภาคนาโนของเงินติดต่อกันเป็นระยะเวลา 90 วัน เริ่มมี
อาการอักเสบภายในปอดและทำให้สภาวะการทำงานของปอด
เปลี่ยนแปลงไป แต่งานศึกษาที่ผ่านมายังไม่ได้ชี้ชัดถึงสถานะของ
เงินที่ทำให้เกิดความเป็นพิษว่าเกิดจากเงินไอออน (Ag+) หรือ
อนุภาคนาโนของเงิน หรือทั้งสองสถานะประกอบกัน
อนุภาคนาโนของไททาเนียมไดออกไซด์
มีงานวิจัยที่ศึกษากับหนูทดลอง โดยให้หนูสูดอนุภาคนาโน
ของไททาเนียมไดออกไซด์ ปริมาณ 500 ไมโครกรัม สลับวันเว้น
วันเป็นระยะเวลา 1 เดือน พบว่า มีการสะสมของอนุภาคนาโนไท
ทาเนียมไดออกไซด์ในสมองของหนู (บริเวณ Hippocampus และ
olfactory bulb) นักวิจัยคาดว่าการสะสมในสมองน่าจะมาจาก
การเคลื่อนของอนุภาคนาโนผ่านเซลล์ประสาท (Wang et al.
2008a, 2008b)
ท่อนาโนคาร์บอน
อนุภาคของท่อนาโน
คาร์บอนส่วนใหญ่จะถูกขับออกมาพร้อมอุจจาระ แต่มีบางส่วนที่
สะสมอยู่ในช่องท้อง ลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ โดยไม่พบการเคลื่อน
เข้าสู่กระแสโลหิต
โอกาสการได้รับอนุภาคนาโนของเงินผ่านการกิน เกิดขึ้นใน
กรณีการกินสารแขวนลอยเงิน (colloidal silver) ซึ่งมีการโฆษณา
ในต่างประเทศว่าสามารถรักษาอาการต่างๆ รวมถึงภาวะข้ออักเสบ
และมะเร็ง
ผลการศึกษาความเป็นอันตรายจากการสูดหายใจอนุภาค
นาโนเข้าสู่ร่างกาย
ความปลอดภัยนาโนเทคโนโลยีมักจะมุ่งเน้นไปที่อนุภาคหรือ
ละอองนาโน (aerosol nanoparticles) ที่สามารถฟุ้งกระจายและ
แขวนลอยในอากาศเป็นเวลานาน ซึ่งหากสูดหายใจรับอนุภาคนา
โนเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานาน
ปัจจุบันมีงานวิจัยทดสอบความเป็นพิษหลายฉบับที่รายงานว่า
ท่อนาโนคาร์บอนที่มีขนาดยาวและบางโดยเฉพาะชนิดผนังหลาย
ชั้น (MWCNT) อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพในลักษณะเดียวกับแร่
ใยหิน
จากการทดลองกับหนูพบว่าเส้นใยขนาดยาวและบางของ
ท่อนาโนคาร์บอนสามารถแทรกซึมผ่านเข้าไปในปอดได้และ
สามารถสะสมอยู่ในปอดเป็นเวลานาน
มีงานศึกษาวิจัยความเป็นพิษของอนุภาคนาโนของเงินจาก
การสูดหายใจโดยใช้หนูเป็นสัตว์ทดลอง พบว่า เมื่อสูดหายใจเข้าสู่
ปอดแล้ว อนุภาคนาโนสามารถเคลื่อนไปยังอวัยวะต่างๆ ได้ผ่าน
กระแสเลือด โดยพบการสะสมในตับ ม้าม ไต หัวใจและสมอง
ทำให้เกิด
อาการปอดอักเสบและลุกลามกลายเป็นมะเร็งเยื่อหุ้มปอด
(mesothelioma) ได้เนื่องจากปอดไม่สามารถขจัดวัตถุ
แปลกปลอมที่มีลักษณะเป็นเส้นใยขนาดยาวและบางมากเหล่านี้
หลังจากที่หนูทดลองได้
รับอนุภาคนาโนของเงินติดต่อกันเป็นระยะเวลา 90 วัน เริ่มมี
อาการอักเสบภายในปอดและทำให้สภาวะการทำงานของปอด
เปลี่ยนแปลงไป แต่งานศึกษาที่ผ่านมายังไม่ได้ชี้ชัดถึงสถานะของ
เงินที่ทำให้เกิดความเป็นพิษว่าเกิดจากเงินไอออน (Ag+) หรือ
อนุภาคนาโนของเงิน หรือทั้งสองสถานะประกอบกัน
มีงานศึกษาวิจัยความเป็นพิษของอนุภาคนาโนของเงินจาก
การสูดหายใจโดยใช้หนูเป็นสัตว์ทดลอง พบว่า เมื่อสูดหายใจเข้าสู่
ปอดแล้ว อนุภาคนาโนสามารถเคลื่อนไปยังอวัยวะต่างๆ ได้ผ่าน
กระแสเลือด โดยพบการสะสมในตับ ม้าม ไต หัวใจและสมอง
อนุภาคนาโนของไททาเนียมไดออกไซด์
มีงานศึกษาในสัตว์ทดลองหลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่า อนุภาคนาโน
ของไททาเนียมไดออกไซด์ (ขนาด 20-30 นาโนเมตร) มีความเป็น
พิษมากกว่าอนุภาคที่ใหญ่กว่า
ท่อนาโนคาร์บอน
โอกาสการได้รับอนุภาคนาโนของเงินผ่านการกิน เกิดขึ้นใน
กรณีการกินสารแขวนลอยเงิน (colloidal silver) ซึ่งมีการโฆษณา
ในต่างประเทศว่าสามารถรักษาอาการต่างๆ รวมถึงภาวะข้ออักเสบ
และมะเร็ง
อนุภาคนาโนของเงิน
โอกาสการได้รับอนุภาคนาโนของเงินผ่านการกิน เกิดขึ้นใน
กรณีการกินสารแขวนลอยเงิน (colloidal silver) ซึ่งมีการโฆษณา
ในต่างประเทศว่าสามารถรักษาอาการต่างๆ รวมถึงภาวะข้ออักเสบ
และมะเร็ง อย่างไรก็ดีมีงานศึกษาความเป็นพิษ (Wadhera and
Fung 2005; Chang et al. 2006) ชี้ให้เห็นว่า การกินสารแขวนลอย
เงินก่อให้เกิดภาวะอาร์ไจเรีย (Argyria)
อนุภาคนาโนของไททาเนียมไดออกไซด์
อนุภาคนาโนของไททาเนียมไดออกไซด์
จากการศึกษาของ Wang et al. (2007) โดยให้หนูได้รับอนุภาค
นาโนของไททาเนียมไดออกไซด์(ขนาด 25 และ 80 นาโนเมตร)
ผ่านทางปากเมื่อเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์พบการกระจายตัวของ
อนุภาคนาโนไปยังตับ ม้าม ปอดและไต
ความปลอดภัยนาโนเทคโนโลยีมักจะมุ่งเน้นไปที่อนุภาคหรือ
ละอองนาโน (aerosol nanoparticles) ที่สามารถฟุ้งกระจายและ
แขวนลอยในอากาศเป็นเวลานาน ซึ่งหากสูดหายใจรับอนุภาคนา
โนเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานานและ/หรือในปริมาณมากอาจก่อให้
เกิดการสะสมของอนุภาคนาโนอยู่ในร่างกาย อย่างไรก็ตาม อัตรา
การสะสมของอนุภาคนาโนในร่างกายขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง
เช่น ขนาดของอนุภาคนาโน การรวมตัวเป็นกลุ่มก้อน
(agglomeration) อัตราการหายใจ สภาวะร่างกายโดยเฉพาะที่
เป็นโรคปอดหรือโรคทางเดินหายใจ
จากการศึกษาของ Wang et al. (2007) โดยให้หนูได้รับอนุภาค
นาโนของไททาเนียมไดออกไซด์(ขนาด 25 และ 80 นาโนเมตร)
ผ่านทางปากเมื่อเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์พบการกระจายตัวของ
อนุภาคนาโนไปยังตับ ม้าม ปอดและไต
ปัจจุบันมีงานวิจัยทดสอบความเป็นพิษหลายฉบับที่รายงานว่า
ท่อนาโนคาร์บอนที่มีขนาดยาวและบางโดยเฉพาะชนิดผนังหลาย
ชั้น (MWCNT) อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพในลักษณะเดียวกับแร่
ใยหิน
เริ่มพบความเสียหายเกิดขึ้นที่สารพันธุกรรม
(genetic damage) เนื่องจากอนุภาคนาโนสามารถเข้าสู่เซลล์และ
ถูกสะสมในอวัยวะต่าง ๆ โดยที่ร่างกายไม่สามารถขจัดออกไปได้ส่ง
ผลรบกวนกระบวนการต่างๆ ภายในเซลล์จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิด
การกินสารแขวนลอย
เงินก่อให้เกิดภาวะอาร์ไจเรีย (Argyria) อันเกิดจากการตกค้างของ
อนุภาคเงินตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายในปริมาณมากทำให้สีผิว
เปลี่ยนเป็นสีเทาหรือสีน้ำเงิน นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดภาวะอักเสบ
และความเป็นพิษต่อตับ (Kim et al. 2008)