Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นิเวศวิทยา การอนุรักษ์และจัดการสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ - Coggle Diagram
นิเวศวิทยา การอนุรักษ์และจัดการสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ
1. ความหมายนิเวศวิทยา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในแหล่งที่อยู่อาศัย นิเวศวิทยาจึงนับได้ว่าเป็นศาสคร์อย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
แบ่งออกเป็น4อย่าง
ควบคุม/กำจัดสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบนิเวศ
ใช้หลักการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างยั่งยืน
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด
สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ระบบนิเวศให้กับประชาชน
3. ความหมายของการจัดการสิ่งแวดล้อม
หมายถึง การดำเนินงานกิจกรรมต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิงแวดล้อมหรือการจัดการสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นการกำหนดกิจกรรมที่จะทำ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
4. แนวคิดในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
1) การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
3) การหลีกเลี่ยงความล้มเหลวของกลไกรัฐที่เกี่ยวข้อง
4) การรักษาทางเลือกสำหรับอนาคต
5) หยุดการเจริญเติบโตของประชากร โดยออกมาตราการต่างๆ
6) การกระจายความมั่นคงให้แก่กลุ่มคนที่ยากจน
7) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ
8) ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง
5. มาตราฐาน ISO 1400
จะมี 2 ส่วนคือ การประเมินผลขององค์กรหรือกระบวนการการกับการประเมินผลของผลิตภัณฑ์
6. บันได 5 ขั้นเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 1 เริ่มจากผู้บริหารสูงสุดขององค์กรต้องมีความมุ่งมั่นที่จะดำเนินการ จัดตั้งผู้รับผิดชอบในองค์กรเพื่อจัดทำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ประกาศให้พนักงานทราบและให้ข้อมูลเรื่องการดำเนินการดังกล่าว จัดอบรมเพื่อสร้างจิตสำนึกและเพิ่มความสามรถ
ขั้นที่ 2 ทบทวนสถานะปัจจุบันของการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ระบุนัยสำตัญของลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ศึกษาความต้องการตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย จัดทำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 3 กำหนดโครงสร้างและความรับผิดชอบ จัดระบบการสื่อสาร จัดทำและควบคุมระบบเอกสารควบคุมการปฎิบัติและดำเนินการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ขั้นที่ 4 เฝ้าระวังและวัดผล แก้ไขและป้องกันกรรีที่พบว่ามีการปฎิบัติที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดตรวจประเมินติดตามการพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม บันทึกข้อมูลทุกขั้นตอน
ขั้นที่ 5 ทบทวนโดยผู้บริหารเป็นระยะๆ ตามกำหนดปรับปรุงเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เมื่อคาดว่าปฎิบัติได้ครบทุกข้อกำหนดแล้ว จึงยื่นขอคำขอการรับรองมาตราฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโรงงาน