Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฮอร์โมนพาราไทรอยด์ Hyperparathyroidism - Coggle Diagram
โรคฮอร์โมนพาราไทรอยด์
Hyperparathyroidism
พยาธิสภาพ
เป็นภาวะที่ต่อมพาราไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ออกมามากกว่าปกติ
มีระดับแคลเซียมในเลือดสูงและสูญเสียแคลเซียมในกระดูก
จะส่งผลให้เกิดความผิดปกติต่อระดับเกลือแร่ต่างๆ
สาเหตุที่ทำให้เกิด
ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูงแบบทุติยภูมิ
(Secondary hyperparathyroidism)
ภาวะแคลเซียมเกินในเลือด (hypocalcemia) ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะ secondary HPT
ภาวะฟอสเฟตสูงเกินในเลือด (hyperphosphatemia)
โรคไตวายเรื้อรัง เมื่อไตเสื่อมประสิทธิภาพจะส่งผลให้ระดับแคลเซียมและวิตามินดีลดลง
ภาวะขาดวิตามินดี (vitamin D deficiency)
การรักษา
ยา
Sodamint 300 mg
ออกฤทธิ์ : เพิ่มความเป็นด่างของเลือดและปัสสาวะ
การพยาบาล : บรรเทาอาการกรดเกินในกระเพาะอาหาร
Calcium carbonate 1000 Mg
ออกฤทธิ์ : ฤทธิ์โดยการเข้าไปสร้างสมดุลของเกลือแคลเซียมในกระแสเลือด ใช้เสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูก นำไปใช้คงความสมดุลเกลือแร่ต่างๆในเลือด
การพยาบาล : ใช้รักษาผู้ที่ร่างกายขาดแคลเซียม ผู้ที่ได้รับแคลเซียมจากอาหารที่รับประทานตามปกติไม่เพียง
Paracetamol 500 mg
การพยาบาล : บรรเทาอาการปวดและช่วยลดไข้
ออกฤทธิ์ : เข้าไปยับยั้งสารเคมีในสมอง ทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงได้ด้วยการยับยั้งสารในสมองส่วนที่มีหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การผ่าตัด
ภาวแทรกซ้อน
ไตวายเฉียบพลัน
หัวใจเต้นผิดปกติ
โรคกระดูกพรุน
เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ขาดความรู้
การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
ทำจิตใจให้สงบผ่อนคลาย
งดยา งดน้ำ งดอาหารก่อนผ่าตัด เพื่อป้องกันการสำลัก
การเตรียมตัวหลังผ่าตัด
หายใจเข้าออกลึกๆและค่อยๆไอ
ผู้ป่วยควรพลิกตะเเคงตัว เพื่อป้องกันพังผืด
สังเกตเเผล ถ้ามีอาการบวมให้เเจ้งพยาบาล
ด้านจิตใจ
ดูแลประคับประคองความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย เมื่อสิ้นสุดการสนทนาและการตอบข้อซักถาม
ส่งเสริมความมั่นใจด้านการเผชิญ การผ่าตัดให้เเก่ผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญ กับการผ่าตัดได้อย่างเหมาะสม
อธิบายข้อมูลและเตรียมผู้ป่วยทางด้านจิตใจโดยการพูดคุยอธิบายข้อมูลแก่ผู้ป่วย
การดูแลแผล
1.ไม่ต้องเปิดเเผลจนถึงวันที่เเพทย์นัด
3.สังเกตอาการของแผลติดเชื้อถ้ามีสารคัดหลั่งเป็นหนองหรือมีน้ำซึมออกมา รวมถึงอาการไข้ บวม แดง ให้รีบแจ้งแพทย์
2.ดูแลไม่ให้เเผลสกปรก ไม่ควรให้ถูกน้ำ
การผ่าตัด Total thyroidectomy การตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมด
มีแผลผ่าตัดบริเวณลำคอ
Pain score = 3
ปวด
แผลไม่มีเลือดซึม ไม่มีหนอง
การวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ
Calcium = 7.7 mg/dL (ต่ำ)
Albumin = 3.2 g/dL (ต่ำ)
Intact Parathyroid hormone = 289.0 pg/mL (สูง)
Potassium = 4.42 mEq/dL (สูง)
Sodium = 122 mEq/dL (ต่ำ)
Chloride = 87 mEq/dL (ต่ำ)
C02 = 17 mEq/dL (ต่ำ)
BUN = 38.0 mg/dL (สูง)
Creatinine = 6.03 mg/dL (สูง)
Anion Gap = 21.1 mEq/dL (สูง)
RBC = 2.66 10\S\6/uL (ต่ำ)
HGB = 8.1 g/dL (ต่ำ)
HCT= 24.8 % (ต่ำ)
MCHC = 32.7 g/dL (ต่ำ)
PLT = 125 10\S\3/uL (ต่ำ)
Neutrophil = 82 % (สูง)
Lymphocyte= 12 % (ต่ำ)
Monocyte= 6.2 % (สูง)
Eosinophil= 0.9 % (ต่ำ)
อาการ
คลื่นไส้และอาเจียน
อ่อนเพลีย
วิงศีรษะ
ปัสสาวะน้อยสีเข้ม
ทานอาหารได้น้อย
ปัจจัยเสี่ยง
1 เกิดภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกาย
2.ผู้ป่วยได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
3.เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
4.ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว