Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ในศตวรรษที่20-21 - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้ในศตวรรษที่20-21
สังคมเชิงพุทธิปัญญา
แนวคิดหลัก
อธิบายกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จากการสังเกตพฤติกรรมหรือการเลียนแบบ ซึ่งมีปฎิสัมพันธ์ด้วย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีของบันดูรา
แนวคิด
การเรียนรู้ของคนส่วนใหญ่ มาจากการสังเกตหรือการเลียนแบบ
ประยุกต์
ครูมาสอนตรงต่อเวลาทุกครั้ง
ครูมาสอนตรงต่อเวลาทุกครั้ง
ครูช่วยเสริมทางนักเรียน ได้โดย ให้ผู้เรียนกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ หรือพูดชมเชย
มนุษนิยม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีลำดับชั้นความต้องการของมาสโลว์
เเนวคิด
ความต้องการของบุคคลเรียนลำดับชั้นตามความสำคัญ เมื่อได้รับความต้องการพื้นฐานเเล้ว บุคคลนั้นจะให้ความสนใจ เเละต้องการในระดับที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
ประยุกต์
ครูต้องให้ความเอาใจใส่ผู้เรียน ให้คำชมเชย เเละไม่ดุหรือทำร้ายให้นักเรียนรู้สึกไม่ดี เเละชี้เเนะเเนวทางที่ถูกต้อง
ทฤษฎีการเรียนของโรเจอร์
เเนวคิด
ผู้เรียนลงมือทำด้วยตัวเอง มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น
ประยุกต์
ช่วยจัดสภาพเเวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือคิดเเละปฎิบัต
เเนวคิหลัก
การจูงใจเกิดจากพลังผลักดันภายในตัวบุคคล กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง
ให้ความสำคัญกับผู้เรียน ควรได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ตามศักยภาพของเเต่ละคน
พฤติกรรมนิยม
แนวคิดหลัก
การมองในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่มีดี ไม่มีเลว การกระทำต่างๆเกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีของการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ประยุกต์
1 กฎแห่งความพร้อม คุณครูเตรียมความพร้อมก่อนสอนเสมอและมีการกระตุ้นนักเรียนโดยมีการเปิดเรื่องนำสู่บทที่จะเรียน
2.กฏแห่งความฝึกหัด หลังจากคุณครูสอนเสร็จคุณครูจะมอบหมายงาน การบ้าน หรือแบบฝึกหัด
3.กฎแห่งความพอใจ คุณครูสอนด้วยบรรยากาศที่สนุก ไม่ทำให้นักเรียนเครียดในการเรียน และมีการนำรางวัลที่นักเรียนต้องการมาล่อเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจยิ่งขึ้น
แนวคิด
เป็นการเลือกตอบสนองของผู้เรียนที่จะกระทำด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากำหนดและเมื่อรู้เเล้วจะเหลือการตอบสนองที่เหมาะสมที่สุดเพียงรูปแบบเดียว
ดูจากความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มีการตอบสนองเป็นรูปแบบต่างๆ จนค้นพบวิธีที่ดีที่สุด เรียกว่า การลองผิดลองถูก มี 3 กฎ
1 กฎแห่งความพร้อม
2.กฏแห่งความฝึกหัด
3.กฎแห่งความพอใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟและวัตสัน
แนวคิด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟและวัตสัน
ประยุกต์
สมมติครูสอนคณิตศาสตร์ก็นำเกมหรือสิ่งที่ลักษระคล้ายยๆเกมมามีส่วนร่วมในชั้นเพื่อเพื่อให้นักเรียนรู้สึกสนุกในการเรียนรู้เป็นระยะๆ เพื่อดึงดูดในการเรียนรู้ของเด็ก
พฤติกรรมนิยม
แนวคิดหลัก
การมองในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่มีดี ไม่มีเลว การกระทำต่างๆเกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีของการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
แนวคิด
ประยุกต์
2.กฎแห่งความฝึกหัด หลังจากคุณครูสอนเสร็จคุณครูจะมอบหมายงานการบ้าน หรือแบบฝึกหัด
เป็นการเลือกตอบสนองของผู้เรียนที่จะกระทำด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากำหนดและเมื่อรู้แล้วจะเหลือการตอบสนองที่เหมาะสมที่สุดเพียงรูปแบบเดียวจากความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มีการตอบสนองเป็นรูปแบบต่างๆ จะค้นพบวิธีที่ดีที่สุด เรียกว่า การลองผิดลองถูกมี 3กฎ
1.กฎแห่งความพร้อม
2.กฎแห่งความฝึกหัด
3.กฎแห่งความพอใจ
1.กฎแห่งความพร้อม คุณครูเตรียมความพร้อมก่อนสอนเสมอและมีการกระตุ้นนักเรียนโดยมีการเปิดเรื่องนำสู่บทที่จะเรียน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟและวัต
แนวคิด
ประยุกต์
สมมติครูสอนคณิตศาสตร์ก็นำเกมหรือสิ่งที่ลักษณะคล้ายๆเกมมามีส่วนร่วมในชั้นเพื่อให้นักเรียนรู้สึกสนุกในการเป็ยระยะๆเพื่อดึงดูดในการเรียนรู้ของเด็ก
3.กำแห่งความพอใจ คุณครูสอนด้วยบรรยากาศที่สนุก ไม่ทำให้นักเรียนเครียดในการเรียนและมีการนำรางวัลที่นักเรียนต้องการมาล่อเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจยิ่งขึ้น
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้จริง