Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ชาวไทย G2P1-0-0-1 GA 7 wks by date, นศพต. นันท์นภัส…
หญิงตั้งครรภ์ชาวไทย
G2P1-0-0-1 GA 7 wks by date
การประเมินสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
แบบแผนที่ 6
หญิงตั้งครรภ์รู้สึกตัว รู้เรื่องดี รับรู้วันเวลา สถานที่ ระดับความรู้สึกตัวปกติ ประสาทการรับรู้ปกติ มีความเข้าใจในคำแนะนำของการพยาบาลและปฏิบัติตามได้ มีความสนใจและให้ความใส่ใจในการตั้งครรภ์ครั้งนี้
แบบแผนที่ 7
หญิงตั้งครรภ์มีการรับรู้ตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของตนเองในขณะตั้งครรภ์ โดยรู้สึกคัดตึงที่เต้านม เต้านมขยายใหญ่ขึ้น คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร
แบบแผนที่ 5
เข้านอนตอน24.00น. ตื่นนอนเวลา 07.00น.
ไม่ได้นอนกลางวัน ขณะตั้งครรภ์พยายามเข้านอนให้เร็วขึ้น ไม่มีอาการเหนื่อยหรืออ่อนเพลีย
แบบแผนที่ 8
หญิงตั้งครรภ์มีบทบาทในการเป็นมารดาที่ดีด้วยการปรับตัวในการใช้ชีวิต ดูแลตนเองมากขึ้น เช่น พยายามเข้านอนเร็วขึ้น เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดการทานขนมอาหารที่ไม่มีประโยชน์
แบบแผนที่ 4
ก่อนการตั้งครรภ์ ไม่ได้ออกกำลังกาย
ขณะตั้งครรภ์ ออกกำลังกายด้วยการเดิน 10-20 นาที เป็นประจำ
แบบแผนที่ 9
เพศและการเจริญพันธุ์ มีประจำเดือนมาสม่ำเสมอ หยุดทานยาคุมกำเนิดมา 2 ปี คิดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ว่าจะเกิดอันตรายกับทารกและงดในช่วงการตั้งครรภ์
แบบแผนที่ 3
ขณะตั้งครรภ์ปัสสาวะวันละ 6-7 ครั้ง ปัสสาวะปกติ มีสีเหลืองใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีตะกอน ปัสสาวะไม่แสบขัด ถ่ายอุจจาระวันละ 1-2 ครั้ง ไม่อาการท้องอืด ท้องผูก
แบบแผนที่ 10
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความเครียด มีการปรับตัวและการเผชิญหน้ากับความเครียดได้อย่างหมาะสม
แบบแผนที่ 2
รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ
อาหารที่รับประทานบ่อย ได้แก่ ส้มตำ ข้าวเหนียว ชอบทานผักผลไม้ ขณะตั้งครรภ์ชอบรับประทานอาหารเปรี้ยวๆ ของเปรี้ยว
ดื่มน้ำวันละ 1 ลิตร ขณะตั้งครรภ์มีอาการอาเจียนตอนเช้าหลังตื่นนอน เบื่ออาหาร อยากอาหารลดลง
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 51 kg. ส่วนสูง 160 cm. BMI = 19.92 kg/m^2
น้ำหนักปัจจุบัน 53.6 kg.
แบบแผนที่ 11
หญิงตั้งครรภ์มีความเชื่อในการดูแลตนเอง
โดยไม่ขัดกับการรักษาของแพทย์
แบบแผนที่ 1
หญิงไทยวัยผู้ใหญ่ ตั้งครรภ์ครั้งที่ 2ปล่อยให้มีบุตรโดยไม่ได้รับประทานยาคุม ไม่แพ้ยา ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลทั่วไป
หญิงตั้งครรภ์ชาวไทย อายุ 31 ปี
เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ
อาชีพ พนักงานจ้าง
อาศัยอยู่แมนชั่นกับสามี ใช้บันไดในการขึ้นลง
ประวัติการเจ็บป่วย
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยา
ปฏิเสธการผ่าตัด
ปฏิเสธการดื่มสุรา และการสูบบุหรี่
ประวัติครอบครัว
-บิดาของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
มารดาของผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ประวัติการฉีดวัคซีน
ยังไม่ได้รับวัคซีนบาดทะยัก
-วัคซีนโควิด
เข็มที่ 1 และ 2 เป็นSinovac
เข็มที่ 3 เป็น Astrazeneca
ประวัติการตั้งครรภ์
G2P1-0-0-1
25 ม.ค. 2562 normal labor เพศหญิง น้ำหนัก 2800 g. ที่โรงพยาบาลโพนทอง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สุขภาพแข็งแรงดี
ครรภ์ปัจจุบัน
GA 7 wks by date
LMP 20 ธันวาคม 2564 x 5 วัน
EDC by date 26 กันยายน 2565
ฝากครรภ์ครั้งแรกที่โรงพยาบาลตำรวจ
การตรวจร่างกาย
7 กุมภาพันธ์ 2565
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 51 kg. ส่วนสูง 160 cm. BMI = 19.92 kg/m^2
น้ำหนักปัจจุบัน 53.6 kg.
BP 103/64 mmHg.
PR 91 ครั้งต่อนาที
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
complete blood count
Hemoglobin(Hb) : 10.1 L (ค่าปกติไม่ต่ำกว่า 11g/dL)
Hematocrit(Hct): 32.5 L (ค่าปกติไม่ต่ำกว่า 33%)
MCV : 25.5 L (ค่าปกติ 25.9-32.4pg)
MCHC : 31.1 L (ค่าปกติ 31.5-34.5g/dL)
RDW : 16.6 H (ค่าปกติ 11.9-16.5%)
blood group
ABO group : O
RH group : positive
Indirect antiglobulin Test /Ab Screening: Negative
การคัดกรองเบาหวาน
50 g Glucose challenge test = 148 (ค่าปกติไม่เกิน 140 )
ทำการคัดกรองการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 30ปี (อายุ 31 ปี) และมีบิดาเป็นโรคเบาหวาน
ภูมิคุ้มกันวิทยา
HBsAg : Negative
VDRL : non-reactive
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
ถึงรอบประจำเดือน ประจำเดือนไม่มาตามกำหนด มีอาการคลื่นไส้อาเจียนในตอนเช้า รู้สึกคัดตึงเต้านม จึงซื้อที่ตรวจครรภ์มาตรวจเอง พบว่าตนเองตั้งครรภ์
Presumptive signs of pregnancy : ถึงรอบเดือนประจำเดือนไม่มาตามกำหนด มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตอนเช้า คัดตึงเต้านม
Probable signs of pregnancy : Urine pregnancy test +
Positive signs of pregnancy : -
การให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์
การฉีดวัคซีน
วัคซีนบาดทะยัก
ในหญิงตั้งครรภ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักมาก่อน จะฉีดวัคซีนบาดทะยัก 3 เข็ม ห่างกัน 0 ,1, 6 เดือน เรียงตามเข็มในไตรมาสที่ 1-2
วัคซีนโควิด-19
สามารถรับได้ตามปกติหลังมีอายุครรภ์ครบ12สัปดาห์หรือ3เดือน
ไม่แนะนำให้ฉีดในคุณแม่ที่มีอาการแพ้วัคซีนเข็มแรงอย่างรุนแรงหรือมีข้อห้ามจากแพทย์ที่ทำการดูแลโดยตรง
ภาวะซีด
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ได้แก่ โปรตีนจากเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว
ไม่ควรดื่มนมพร้อมอาหารหรือการทานธาตุเหล็ก เพราะจะขัดขวางการดูดซึมของธาตุเหล็ก
แนะนำให้ทาน Folic acid และ Fe ตามแพทย์สั่ง
ต้องมาตรวจตามนัด รับการรักษาสม่ำเสมอ
เสี่ยงเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การรับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เน้นการรับประทานคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ได้แก่ ข้าวที่ไม่ผ่านการขัดสี ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต
ทานผลไม้ที่น้ำตาลต่ำ
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำหวาน ขนมหวาน
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เช่น เดิน 10-20 นาที ว่ายน้ำ โยคะ
การตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1
(1-3เดือน)
การเปลี่ยนแปลง
1.อาการแพ้ท้อง คลื่นไส้อาเจียน
ควรทานเป็นอาหารอ่อน ย่อยง่าย หรือขนมปังกรอบ เครื่องดื่มชนิดต่างๆเช่น น้ำขิง
ควรทานแบ่งมื้อเป็นมื้อน้อยๆพออิ่มแต่หลายมื้อ วันละ 4-6 มื้อ
2.เต้านมขยายใหญ่ขึ้น คัดตึง
สวมใส่เสื้อชั้นในที่กระชับ ขนาดเหมาะสม ไม่มีโครง
3.เหนื่อย เพลีย อยากนอนพักมากๆ
พักผ่อนให้เพียงพอ วันละ8-10ชม.
4.น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
น้ำหนักที่ควรเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์ของมารดาที่มี BMI = 19.92 kg/m^2 คือ 11.5-16 kg.
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นต่อสัปดาห์ ประมาณ 0.42 kg.
อาการที่ควรมาพบแพทย์!!
1.แพ้ท้องมาก จนทานอาหารไม่ได้เลย
2.มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ไม่ว่าจะมีอาการปวดท้องร่วมด้วยหรือไม่
3.ปวดมากบริเวณท้องน้อย ในระยะตั้งครรภ์อ่อนๆ
4.ทางเดินปัสสาวะอักเสบ โดยมีอาการปัสสาวะแสบขัดเจ็บ ปัสสาวะบ่อยไม่สุด ปัสสาวะเป็นเลือด
เพศสัมพันธ์ขณะตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์ในไตรมาสแรก
ด้านอาหาร
สามารถทานอาหารได้ตามปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์ ทานเท่าที่ทานได้
ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และมีความหลากหลาย โปรตีน ได้จากเน้ือสัตว์ทุกประเภท รวมทั้งไข่และถั่ว ต่างๆ โปรตีนจะช่วยสร้างเน้ือเยื่อต่างๆของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ ศีรษะ ปอด สมอง ตา ผิวหนัง
ข้าวไม่ขัดสี นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่างๆ เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล ถั่วเมล็ดแห้ง ผักทุกชนิดโดยเฉพาะผักใบเขียว เช่น ตำลึง ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง ผลไม้ตามฤดูที่น้ำตาลน้อย เช่น มะละกอ แก้วมังกร ชมพู่ ไขมันดี เช่น น้ำมันมะกอก อะโวคาโด
ไม่ทานอาหารรสจัด อาหารหมักดอง อาหารแปรรูป
งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ชา กาแฟ
หลีกเลี่ยงสถานที่เสี่ยงมีมลภาวะ ควันบุหรี่
การพักผ่อนนอนหลับ
นอนในเวลากลางคืนอย่างน้อย 8ชม. หาเวลานอนกลางวัน30-60 นาที
ทำความสะอาดร่างกาย
อาบน้ำเช้าเย็น ไม่แช่น้ำ ใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ใส่สบาย ชุดชั้นในที่กระชับ พอดี ไม่มีโครง รองเท้าส้นเตี้ย
พยาธิสภาพของโรค
ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
(Anemia)
ความหมาย
ภาวะที่ค่าHemoglobin หรือ Hematocrit น้อยกว่าปกติ
คนทั่วไป เกณฑ์
เกณฑ์ในหญิงตั้งครรภ์
Hematocrit (Hct): < 33
Hemoglobin (Hb) : < 11
กรณีศึกษา
Hemoglobin(Hb) : 10.1 L
Hematocrit(Hct): 32.5 L
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของระบบโลหิตขณะตั้งครรภ์
ปริมาณพลาสมาเพิ่มขึ้น
ปริมาตรเลือดที่บีบออกจากหัวใจต่อนาที(cardiac output) เนื่องจากปริมาณพลาสมาเพิ่มขึ้น
ปริมาณเม็ดเลือดแดง เพิ่มเมื่ออายุครรภ์ 10-12 wks
ความเข้มข้นของเลือด(Hct) ลดลง
ความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลายลดลง DBP ลดลง หายใจเร็วขึ้นผลจากโปรเจสเตอโรนจากรก คาร์บอนในพลาสมาลดลง
ความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น เพื่อการเติบโตของทารก
สาเหตุ
ขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเหล็ก โฟลิค วิตามินบี12
มารดารมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ทานไม่ค่อยได้ ความอยากอาหารลดลง
การเสียเลือดแบบฉับพลัน เช่นแผลในกระเพาะอาหาร พยาธิปากขอ
มีความผิดปกติของการสร้างเม็ดเลือดแดงร่วมกับมีการทำลายเม็ดเลือดแดงผิดปกติ เช่นธาลัสซีเมีย
ผลกระทบ
ต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติ
อัตราการตายมากขึ้น จากคลอดก่อนกำหนด ตัวเหลือง ติดเชื้อง่าย ปอดไม่สมบูรณ์
ทารกมีภาวะโลหิตจาง
พิการ
ต่อมารดา
มีอาการทางหัวใจ คือ cardiac output ฟังได้ยินเสียง murmur เต้นผิดปกติ
pre-eclampsia
ติดเชื้อง่าย ร่างการอ่อนแอ ภูมิต่ำ แท้งหรือคลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
หัวใจวายจาก Pulmonary edema
การตกเลือด
ระยะหลังคลอด
ติดเชื้อง่าย เช่น การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การตกเลือดหลังคลอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เป็นลมบ่อย
ประวัติการรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น มีการติดเชื้อ เลือดออกทางริดสีดวงทวาร โรคไต โรคตับ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวเช่น ธาลัสซีเมีย
การตรวจร่างกาย
การซีดของเยื่อบุ เช่น เยื่อบุตา ริมฝีปาก ขอบเล็บ มือซีด
ผลทางห้องปฏิบัติการ
complete blood count : Hemoglobin ,Hematocrit, WBC,platelets,RBC, MCV
เสี่ยงเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Gestational diabetes mellitus (GDM)
ความหมาย
โรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดจะกลับสู้ภาวะปกติ มักเกิดในไตรมาสที่ 2-3 ของการตั้งครรภ์
พยาธิสภาพ
คล้ายโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจาภาวะดื้อต่ออินซูลิน
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก(Polyuria)
ดื่มน้ำมาก (Polydipsia)
รับประทานอาหารจุ (Polyphagia)
น้ำหนักลด (Weight loss)
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว มีการติดเชื้อง่าย เช่น การติเชื้อทางเดินปัสสาวะ มีตกขาว
การคัดกรองปัจจัยเสี่ยง
อายุ 30 ปีขึ้นไป
มีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน
เคยมีประวัติเป็นเบาหวานในครรภ์ก่อน
BMI มากกว่า 27 kg/m^2
มีประวัติความดันโลหิตสูง
พบน้ำตาลในปัสสาวะ
เคยแท้งเป็นอาจิณ(แท้งติดต่อกันมากกว่า 3 ครั้ง)
กรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์อายุ 31 ปี
บิดาของหญิงตั้งครรภ์เป็นโรคเบาหวาน
Glucose Challenge Test (50gm)
ปกติ
(ไม่มากกว่า 140)
ตรวจคัดกรองอีกครั้งอายุครรภ์ 24-28 wks
หญิงตั้งครรภ์ ทดสอบ 50 g Glucose challenge test = 148
(มากกว่า 140 ผิดปกติ )
อีก 1 เดือน นัดตรวจ OGTT โดยให้งดน้ำงดอาหารหลังเที่ยงคืนในวันที่ทีนัดตรวจ เจาะเลือด(Fasting blood sugar)และทานกลูโคส 100 กรัมผสมน้ำ180 มล. ทานให้หมดใน 15นาที แลัวเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือดเมื่อครบ 1,2และ3ชม.หลังทานกลูโคสเพื่อดูค่าปกติของระดับกลูโคส(American Diabetes Association:ADS)
ก่อนรับประทานกลูโคส : < 95
หลังรับประทาน 1 ชม. : < 180
หลังรับประทาน 2 ชม. : < 155
หลังรับประทาน 3 ชม. : < 140
มีค่าผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป
เป็น GDM
1 more item...
มีค่าปกติทั้งหมด หรือผิดปกติ 1 ค่า = ไม่เป็น
1 more item...
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ติดเชื้อง่าย
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ครรภ์แฝดน้ำ
Abortion
preterm labor
คลอดยากเนื่องจากทารกตัวใหญ่ (Macrosomia)
การตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
ทารกตัวใหญ่ (Macrosomia)
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ความพิการแต่กำเนิด
ภาวะRespiratory distress syndrome (RDS)
การฝากครรภ์คุณภาพ
มีความสำคัญเพื่อให้คุนแม่และทารกในครรภ์ได้รับการดูแลตลอดระยะเวลา 9 เดือน
แนะนำการฝากครรภ์คุณภาพฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 wks (อายุครรภ์ปัจจุบัน 7 wks ) ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตลอดการตั้งครรภ์ โดยในไตรมาสแรกแพทย์จะนัดทุก 4 wks และในไตรมาสที่ 2 จะนัดถี่ขึ้นเป็น 2 และ 1 wks ตามลำดับ
นศพต. นันท์นภัส แย้มลังกา เลขที่ 36