Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิธีปฏิบัติการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด, นางสาวกันธิกา ยอดแก้ว เลขที่…
วิธีปฏิบัติการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือด
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงานในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดอย่างเป็นระบบ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด ถูกต้องตามแผนการรักษา
ขั้นตอนการปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยขณะได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนการตรวจสอบเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนขณะได้รับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนการขอรับเลือดและส่วนประกอบของเลือดจากธนาคารเลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด(Adverse transfusion reactions)
ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
Hemolytic transfusion reactions (HTR)
Transfusion associated circulatory overload (TACO)
Non hemolytic transfusion reactions (NHTR)
Post transfusion purpura (PTP)
Transfusion-related acute lung injury (TRALI)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการติดเชื้อ
เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ (Hepatitis)
การติดเชื้อปรสิต (Parasistic infection)
การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial contamination)
เชื้อไวรัสเอสไอวี (Human immunodeficiency virus, HIV)
สาเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์
การให้เลือดที่ไม่เหมาะสม(Inappropriate transfusion)
ความผิดพลาดในการปฏิบัติเกี่ยวกับถุงเลือดและการจัดเก็บส่วนประกอบของเลือด
(Handling and storage errors: HSE)
การไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด (Specific requirements not met, SRNM)
การให้เลือดถูกชนิด ผู้ป่วยถูกคนแต่กระบวนกางานไม่ถูกต้อง (Right bloodright patient, RBRP)
การให้เลือดผิด (Incorrect blood component transfused, IBCT หรือWrong blood transfused)
ความเสี่ยงจากการให้เลือด
มีไข้ หนาวสั่น
ผิวหนังแดงและชื้นผิดปกติ
เจ็บหน้าอก มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ
ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
รูปแบบการให้เลือด
การให้เกล็ดเลือด
หากผู้ป่วยเสียเลือดเป็นจำนวนมากหรือมีอาการเจ็บป่วยที่ทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
การให้พลาสมา
หากผู้ป่วยสูญเสียพลาสมาเนื่องจากมีแผลไหม้รุนแรง มีภาวะตับล้มเหลว หรือภาวะติดเชื้อรุนแรง อาจต้องได้รับพลาสมาเพื่อให้เลือดยังไหลเวียนเป็นปกติ
การให้เม็ดเลือดแดง
โดยมักใช้ในกรณีเสียเลือดจากการบาดเจ็บรุนแรงหรือการผ่าตัดใหญ่ และอาจใช้กับผู้ป่วยที่มีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อยเนื่องจากภาวะโลหิตจาง
นางสาวกันธิกา ยอดแก้ว เลขที่ 5 รหัสนักศึกษา 62111301006