Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อในระบบทางเดินอาหารและน้ำ - Coggle Diagram
โรคติดต่อในระบบทางเดินอาหารและน้ำ
กลุ่มโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิ
โรคพยาธิไส้เดือน (Ascaris lumbricoides)
อาการ
หงุดหงิด อ่อนเพลีย
ภาวะขาดสารอาหาร
ปวดท้อง อาเจียน ท้องอืด
การป้องกัน
ผัก แนะนำให้ปรุงสุก ลวก ผ่านความร้อน
เลี่ยงการรับประทานอาหารที่ปรุงไม่สุก
ล้างผักผลไม้ก่อนนำมารับประทานเสมอ
ล้างมือด้วยสบู่และน้ำเปล่าให้สะอาดทุกครั้งก่อนหยิบจับอาหาร ก่อนเตรียมอาหาร และหลังจากใช้ห้องน้ำ
สาเหตุ
เกิดจากการกินอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนไข่ของพยาธิ ซึ่งไข่ของพยาธิไส้เดือนนั้นพบได้ในดินที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อ ผักผลไม้ที่ปลูกในดินที่ปนเปื้อนและล้างไม่สะอาด หรืออาหารที่ปรุงไม่สุกและมีไข่พยาธิจากดินติดอยู่
โรคพยาธิเข็มหมุด (Enterobius vermicularis)
อาการ
เบื่ออาหาร
หงุดหงิด นอนไม่หลับ
ผิวหนังบริเวณก้นเป็นแผลถลอก
คันก้น ในเวลากลางคืน
การป้องกัน
หมั่นซักเสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว และเครื่องนอนด้วยน้ำร้อน เพื่อกำจัดไข่พยาธิเข็มหมุดที่อาจปนเปื้อนติดมาโดยไม่รู้ตัว
ดูแลเล็บให้สั้นและสะอาดอยู่เสมอ อีกทั้งควรหลีกเลี่ยงนิสัยการกัดเล็บหรือการเกา เพราะอาจทำให้เสี่ยงได้รับไข่พยาธิเข้าสู่ร่างกายหรือเกิดการแพร่กระจายของไข่พยาธิได้
อาบน้ำทำความสะอาดร่างกายและเปลี่ยนชุดชั้นในทุกวัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของพยาธิเข็มหมุด
ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร หลังจากเข้าห้องน้ำ
เข้ารับการตรวจวินิจฉัยโรคพยาธิเข็มหมุด
สาเหตุ
พยาธิจะเข้าสู่ร่างกายทางปาก และการหายใจ
เป็นมากในเด็ก เด็กๆที่ไม่ชอบใส่เสื้อผ้า เล่นดิน เล่นทราย พยาธิจะมาวางไข่ที่ก้น เกิดอาการคัน เด็กๆจะเกา หลังจากนั้นจะติดมากับเล็บ เมื่อเด็กๆเอามือไปจับที่อื่นๆ ไข่พยาธินี้จะสามารถเข้าสู้ร่างกายคนอื่นได้เช่นกัน
โรคพยาธิปากขอ (Ancylostomiasis)
อาการ
อ่อนเพลีย โลหิตจาง
ไอ ปอดอักเสบ
สติปัญญาไม่ดี
คันผิวหนังที่บริเวณพยาธิไช
การป้องกัน
สวมรองเท้าทุกครั้ง ไม่ควรเดินเท้าเปล่าบนพื้นดิน
ควรล้างมือทุกครั้งหลังจากสัมผัสกับสัตว์ ดิน หรือสนามหญ้า
เข้ารับการตรวจค้นหาโรคพยาธิปากขอ
ถ้าหากเป็นโรคจะต้องเข้ารับการรักษา ยารักษาโรคพยาธิ ได้แก่ ยาอัลเบนดาโซล และยามีเบนดาโวล
สาเหตุ
จากพยาธิ Necator americanus และ
Ancylostoma duodenale ไชเข้าสู่ร่างกาย
โรคพยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini)
อาการ
มีไข้ เจ็บตื้อบริเวณตับ
ผอมลง ท้องมาน บวม
ตัวเหลือง ตาเหลือง เบื่ออาหาร
มะเร็งท่อน้ำดี
ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย
การป้องกัน
สวมรองเท้าเมื่อออกจากบ้านหรือเดินบนพื้นดิน
กินอาหารที่ทำจากปลาน้ำจืดที่ปรุงสุกด้วยความร้อน
ล้างผักสด ผลไม้ ให้สะอาดก่อนบริโภคหรือกิน
ตรวจอุจจาระค้นหาการเป็นโรคหนอนพยาธิทุกครั้ง อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
ล้างมือให้สะอาดก่อนหยิบจับอาหาร ตัดเล็บให้สั้นอยู่เสมอ
กินยารักษาโรคหนอนพยาธิทุกครั้งที่มีการตรวจพบว่าเป็นโรคหนอนพยาธิ
ถ่ายลงในส้วมที่มีการปิดอุจจาระมิดชิด
สาเหตุ
จากการบริโภคปลาหรือสัตว์น้ำดิบ ๆ หรือกึ่งสุกกึ่งดิบ พบได้ในสัตว์น้ำจืด ที่เจอบ่อยๆคือ ปลาและหอย
พยาธิใบไม้ตับที่พบบ่อยที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ สายพันธุ์โอปิสทอร์คิส วิเวอร์รินี (Ophisthorchis Viverrini)
กลุ่มโรคที่มีอาการอุจจาระร่วง
ท้องเสียหรืออุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำหรืออาจมีกลักษณะเป็นมูก
ถ่ายอุจจาระเป็นจำนวนมากจนอุจจาระมีสีขาวขุ่นคล้ายน้ำซาวข้าว กลิ่นเหม็นคาวมักไม่ปวดท้อง
ถ่ายอุจจาระเหลวผิดปกติ 3 ครั้งขึ้นไปภายใน 24 ชม. หรือ ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ 1ครั้งขึ้นไป
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการกินอาหารซ้ำที่ค้างคืน
ใช้ฝาชีครอบอาหาร
เลือกดื่มน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ
ถังขยะควรมีฝาปิด
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
อุ่นอาหารที่ปรุงเสร็จ โดยอุ่นนานกว่า 30 นาที
สาเหตุ
เนื่องจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือเชื้อปรสิต ดังนี้
การได้รับเชื้อปรสิต ผ่านอาหารและน้้าที่ปนเปื้อนและอาศัยอยู่ในระบบย่อยอาหารของคนเรา เชื้อปรสิตที่มักพบ คือ Giardia Lamblia, Entamoeba histolytica และ Cryptosporidium spp.
สัตว์มีพิษ (ปลาปักเป้า หอย คางคก) พืชพิษ (เห็ดพิษ กลอย)
การติดเชื้อไวรัส ได้แก่ Rotavirus (เป็นสาเหตุของการเกิดอาการท้องเสียในเด็กมากที่สุด), Norovirus, ไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis)
จากยา เช่น ยาลดความดัน ยาปฏิชีวนะ ยาระบาย
การติดเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ เชื้อ Campylobacter, Salmonella, Shigella,
Vibrio cholerae และ Escherichia coli (E.coli)
โรคอาหารเป็นพิษ (Food Poisoning)
อาการ
อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเสีย
คลื่นไส้
การป้องกัน
เลือกกินร้านอาหารที่สะอาด ไว้ใจได้
เลือกดื่มน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่กินอาหารที่ทำไว้นานๆ ค้างคืน
เก็บของสดในภาชนะมิดชิดในตู้เย็น
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
สาเหตุ
เกิดจากการกินอาหารที่ปนเปื้อน
ทานอาหารที่ปนเปื้อนพิษที่สร้างจากเชื้อโรค
และสิ่งอื่นๆที่ไม่ใช่เชื้อโรค เช่น สารเคมี
ตัวอย่าง
Clostridium botulinum ในผักและผลไม้กระป๋องที่ปนเปื้อนสปอร์จากดิน
Bacillus cereus ในข้าวที่ปนเปื้อนสปอร์จากดิน
Staphylococcus aureus ในอาหารที่ต้องใช้มือประกอบอาหาร
ทานอาหารที่ปนเปื้อนจากเชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต
ตัวอย่าง
Salmonella spp. E.coli 0157 ; H7 ในเนื้อสัตว์ที่ปรุงไม่สุก
Vibrio spp. ในอาหารทะเลที่ปรุงไม่สุก
Campylobacter jejuni ในเนื้อไก่ที่ปรุงไม่สุก
Salmonella spp. ในไข่ดิบ
อหิวาตกโรค (Cholera)
อาการ
ถ้าหากไม่รุนแรง มักจะหายใน 1-5 วัน
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
แต่หากถ่ายเป็นจำนวนมาก ถ่ายมีมูกเลือด จะทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ช็อก ซึ่งทำให้เสียชีวิตได้
ถ่ายเหลวเป็นน้ำคล้ายน้ำซาวข้าว
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือน้ำสะอาดทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารหรือหลังเข้าห้องน้ำ
หลีกเลี่ยงของหมักดองสุกๆดิบๆ อาหารที่ปรุงไว้นานๆหรือมีแมลงวันตอม
ขับถ่ายลงในส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
ระวังไม่ให้น้ำเข้าปาก เมื่อเล่นน้ำในคลอง
ถังขยะควรมีฝาปิด
หลีกเลี่ยงการกินอาหารซ้ำที่ค้างคืน
ใช้ฝาชีครอบอาหาร
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ โคเลอรี
(Vibrio Cholerae) ภายในลำไส้
ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำที่มีเชื้อที่มีชีวิตปนอยู่
โดยการรับประทานอาหารทะเลดิบ หรืออาหารดิบๆสุกๆ
โรคบิด (Dysentery)
อาการ
ถ่ายอุจจาระจะมีมูกหรือมูกเลือดออกมาด้วย
ถ่ายอุจจาระบ่อย
ปวดท้องเป็นพัก
อาการท้องเสีย
การป้องกัน
ขับถ่ายลงส้วมทุกครั้ง
เก็บอาหารให้ปลอดภัยจาก แมลง หนู หรือสัตว์อื่นๆ
ดื่มน้ำสะอาด เลือกอาหารที่ผ่านกระบวนการผลิตอย่างปลอดภัย
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมแม่
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
ทิ้งขยะในถังขยะที่มีฝาปิด และกำจัดขยะอย่างสม่ำเสอ
สาเหตุ
หรือเกิดจากติดเชื้อจากสัตว์เซลล์เดียว
อย่างตัวอะมีบา (E. histolytica)
จากเชื้อแบคทีเรีย ชิเกลลา (Shigella)
ท้องเสียหรืออุจจาระร่วง (Diarrhea)
อาการ
ถ่ายบ่อย ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ
หลังจากนั้นจะมีอาการท้องเสียหรือท้องร่วงอย่างรุนแรง
แน่นท้อง ปวดท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน ไข้
การป้องกัน
ไม่ควรวางอาหารทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องนาน ๆ ควรเก็บเข้าตู้เย็น เพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
เลือกดื่มน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่กินอาหารที่ทำไว้นานๆ ค้างคืน
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือน้ำสะอาดทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารหรือหลังเข้าห้องน้ำ
สาเหตุ
มักเกิดจากการติดเชื้อหรือภาวะอาหารเป็นพิษ
หลังจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป
กลุ่มที่มีอาการไข้เอนเทอริก
ไทฟอยด์ หรือไข้รากสาดน้อย(Typhoid fever)
การป้องกัน
ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และสุขาภิบาลอาหาร
รับประทานอาหารและน้ำสะอาด
เข้มงวดการผลิตอาหารนม หรือ
ส่วนประกอบจากนมให้ถูกหลักวิชาการ
ให้วัคซีน ป้องกันไข้ไทฟอยด์
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
อาการ
แบบติดเชื้อในเลือด
เสียชีวิตได้ จากการติดเชื้อในเลือด
อาการรุนแรง ไข้สูงทันที
หนาวสั่น อาจช็อค
แบบติดเชื้อเฉพาะที่
เกิดอาการที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง
เช่น ข้ออักเสบ กรวยไตอักเสบ ฝีในตับ ฯ
แบบไข้ไทฟอยด์แท้
wk3 ไข้สูงเป็นช่วงๆ wk4 ไข้หาย เข้าสู่ระยะพักฟื้น
wk1 ไข้ ปวดหัว เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว
หนาวสั่น ซึม เพ้อ
wk2 ไข้สูงลอย ปากแห้ง
หน้าไม่แดง ซึมมาก ตับ ม้ามโต
wk4 ไข้หาย เข้าสู่ระยะพักฟื้น
สาเหตุ
มาจากร่างกายที่ได้รับแบคทีเรีย Salmonella Typhi.
ที่มักเจือปนอยู่ในน้ำและอาหาร