Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุอันตราย - Coggle Diagram
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุอันตราย
1.ความเป็นมาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุอันตราย
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีการใช้สารเคมีกันมาก ทั้งในการอุตสาหกรรม การเกษตร หรือบ้านเรือน เนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยี ความต้องการทางการเพิ่มผลผลิต ความต้องการความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตประจำวัน
2.กฎหมายที่ใช้ควบคุมวัตถุอันตราย
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ฉบับที่ 3 พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ฉบับที่ 4 พ.ศ.2562
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ฉบับที่ 2 พ.ศ.2544
และกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
3.หน่วยงานรับผิดชอบกำกับดูแลวัตถุอันตราย ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
กรมธุรกิจพันล้าน กระทรวงมหาดไทย
กรมโรงงานอุตาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
กรมโรงงานอุตาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
6.ชนิดของวัตถุอันตราย
ตามกฎหมายวัตถุอันตรายแบ่งได้เป็น 4 ชนิด ตามความรุนแรงที่ก่อให้เกิดผลกระทบ
วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 เป็นวัตถุอันตรายที่ก่อให้เกิดอันตรายน้อยกว่ากลุ่มอื่น
ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด เช่นผลิตภัณฑ์ล้างจาน ผลิตภัณฑืซักผ้า ที่มีสารจำเป็นสารลดแรงตึงผิวชนิดประจุลบ หรือสารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ
วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 เป็นวัตถุอันตรายทีมีความเป็นอันตราย/ความเสี่ยงสูงกว่าชนิดที่ 1 ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณะสุขที่มี Benzyl benzoate เป็นสำคัญ
วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 เป็นวัตถุอันตรายทีมีความเป็นอันตราย/ความเสี่ยงสูงกว่า 2 ชนิดแรก ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณะสุขที่มี สารสำคัญเป็นสารคอล์ไพริฟอสหรือสารกลุ่มไพรีทรอยด์
วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 วัตถุอันตรายที่ห้ามไม่ให้มีการผลิต การนำเข้า การส่งออก การนำผ่าน หรือมีไว้ในการครอบครอง ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดแมลงที่มีสารสำคัญเป็นสารดีดีที คลอร์เดน ดิลดรีน เป็นต้น
7.ฉลากวัตถุอันตราย
องค์ประกอบของฉลากตามระดับสากล GHS ได้แก่
รูปสัญลักษ์แสดงความเป็นอันตราย
ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์
ข้อความแสดงความเป็นอันตราย
คำสัญลักษณ์ "อันตราย" "ระวัง"
การระบุผลิต ผู้จัดจำหน่าย
ข้อความ และรูปสัญลักษณ์แสดงข้อควรระวัง
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ
4.ความหมายวัตถุอันตราย
วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดร์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง รวมถึงวัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม
5.รูปแบบการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เป็นกฎหมายที่มีผู้รับผิดชอบหลายหน่วยงาน การออกแบบประกาสกำหนดรายการวัตถุอันตราย การออกแบบกฎหมาย กฎระเบียบหลักเกณฑ์ต่างๆ จึงดำเนินการในรูปแบบของ คณะกรรมการวัตถุอันตรายต่างๆ คณะอนุ
กรรมการต่างๆ