Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 เรื่อง บทบาทของสื่อมวลชน ในการพัฒนาการสื่อสารหลายรูป…
บทที่ 6 เรื่อง บทบาทของสื่อมวลชน
ในการพัฒนาการสื่อสารหลายรูปแบบในชุมชน
ตำตอบ ก็คือ รัฐบาล
จะต้องให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการอ่านออกเขียนได้ การเมืองสาธารณสุข การเกษตรและการช่าง ซึ่งการสื่อสารโดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อมวลชน สามารถที่จะทำหน้าที่ในการให้ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการปรับตัวของประชาชนให้เข้ากับการพัฒนาของประเทศไทย
การสื่อสารก็จะเข้ามามีบทบาท
ในการบอกกล่าวให้ประชาชนในแต่ละส่วนแต่ละสังกัด เหล่านี้ได้ทราบว่า
อะไรคือสิ่งที่จะต้องทำ ( know what to do )
จะต้องทำอย่างไร ( know how to do it )
เกิดความยินดีที่จะทำ ( be willing to do it )
มีช่องทางที่จะทำให้สำเร็จ ( have the resources to do it )
บทบาทของสื่อมวลชนต่อการพัฒนาในยุคใหม่
บทบาทของการสื่อสาร ที่มีต่อการพัฒนาเปลี่ยนแปลงนั้น ย่อมส่งผลให้บทบาทของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปด้วย
นักวิชาการที่มีแนวคิดลักษณะนี้ อาทิ Schramm และ Lerner เชื่อว่า สื่อมวลชนเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสังคมดั้งเดิม
บทบาทของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนา
สามารถจำแนกได้ 3 ประการ คือ
บทบาทในการให้ข่าวสาร
1.1 ขยายขอบเขตของสิ่งแวดล้อม
1.2 ดึงประชาชนมาสู่จุดสนใจ
1.3 ยกระดับความมุ่งมาดปรารถนาของประชาชน
1.4 สร้างบรรยากาศแห่งการพัฒนา
บทบาทในการชักจูงใจ
2.1 สื่อมวลชนเป็นแหล่งข่าวสาร
2.2 สร้างสถานภาพให้บุคคล
2.3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการกำหนดนโยบาย
2.4 ปลูกฝังทรรทัดฐานของสังคม
2.5 ช่วยปลูกฝังรสนิยม
2.6 เปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ฝังแน่
บทบาทในการให้การศึกษา
ในการพัฒนาประเทศนั้น เมื่อประชาชนได้รับทราบข่าวสารเกี่ยวกับความจำเป็นต้องมีการพัฒนา จนประชาชนเกิดความรู้สึกทะเยอทะยาน และตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของตนแล้ว สิ่งที่ตามมาก็คือ ทำอย่างไรประชาชนจึงจะมีความรู้ ความสามารถในการที่จะปรับตัวเองให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปได้ นั่นก็คือ
ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะรู้หนังสือ
ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะมีความรู้ ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนในสังคมใหม่
ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะมีความสามารถในการที่จะใช้วิธีการใหม่ๆ ในการผลิตพืชผลการเกษตร หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพใหม่
สื่อมวลชนสามารถทำหน้าที่ในการให้การศึกษาแก่ประชาชนได้ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
การใช้สื่อมวลชนสำหรับการศึกษาในโรงเรียน โดยทำหน้าที่เป็นโสตทัศนูปกรณ์สำหรับชั้นเรียน เพื่อถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียน ประกอบการสอนของครู การให้ความรู้อีกลักษณะหนึ่งก็คือ การใช้สื่อมวลชนสำหรับการศึกษานอกโรงเรียน เป็นการทำหน้าที่แทนครูเพื่อถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชน เป้าหมายเฉพาะกลุ่ม เพื่อพัฒนาความรู้ อาชีพ และความเป็นอยู่ของประชาชนเหล่านั้น
บทสรุป
บทบาทของการสื่อสารต่อการพัฒนาในยุคใหม่ ควรเน้นที่ความต้องการของผู้รับสารเป็นผู้สะท้อนความคิดและความต้องการไปยังผู้ส่งสาร (รัฐบาล) สื่อมวลชนควรมีบทบาทในการให้ข่าวสารชักจูงใจและให้การศึกษา เพื่อให้ประชาชนได้มีข้อมูล มีความกระตือรือร้นที่อยากก่อกระแสให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและสะท้อนความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ไปยังรัฐบาล เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างสมเหตุสมผลและตรงกับความต้องการของประชาชนที่สุด
นางสาวฟิรดาวส์ ขาวดี
รหัสนักศึกษา 6313013063025 สาขา การปกครองท้องถิ่น 63