Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาสเตรีอยด์ ยาเทคนิคพิเศษ - Coggle Diagram
ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาสเตรีอยด์ ยาเทคนิคพิเศษ
ยาลดไข้ (Antipyretic)
ทำไมถึงมีไข้
ไข้หรือตัวร้อน หมายถึง อุณหภูมิกายเพิ่มสูงกว่าปกติ หากเป็นอุณหภูมิที่วัดทางปากต้องสูงเกิน 37.2 ºc
เพื่อตอบสนองเมื่อมีการติดเชื้อโรคหรือมีการเจ็บป่วยจากสาเหตุบางอย่าง
เวลาที่มีไข้ไม่จำเป็นว่าทุกส่วนของร่างกายจะต้องร้อนเท่ากันหมด
โพสตาแกรนดิน (PGE2) เป็นตัวกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ (thermo regulatory center) ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
วิธีการลดไข้
ยาลดไข้ เป็นเพียงยาบรรเทา ไม่ใช่ยารักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
การเช็ดตัว อาศัยการพาความร้อนของน้ า ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัวระบายความร้อน
การดื่มน้ำมากๆ
การเช็ดตัว ท าต่อเนื่องจนกว่าไข้จะลด
พักผ่อนในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ใส่เสื้อผ้าโปร่งสบาย ท าให้ร่างกายระบายความร้อนได้ดี
ยาลดไข้
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโพสตาแกรนดิน (PGE2) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ (thermo regulatory center)
ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
เพิ่มสารต้านอักเสบอื่นที่มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิ
ยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
พาราเซตามอลที่เป็นยาเดี่ยวจะบรรเทาอาการปวดขั้นอ่อนถึงปานกลาง และใช้เป็นยาลดไข้
ต้องระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาอื่นที่มีพาราเซตามอลเป็นส่วนประกอบเพราะอาจทำให้ได้รับยาเกินขนาด
ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับ
สามารถใช้ได้ในหญิงตั้งครรภ์ หรือ ให้นมบุตร
ขนาดและวิธีใช้ยาพาราเซตามอล
ขนาดยา: 10-15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน (ไม่เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อครั้ง)
แบ่งให้ยาทุก 4-6 ชั่วโมง
ขนาดยาสูงสุดส าหรับผู้ใหญ่ 4000 มิลลิกรัม/วัน
ขนาดยาสูงสุดในผู้ป่วยที่มีภาวะตับอักเสบรุนแรง 2000 มิลลิกรัม/วัน
เนื่องจากการเกิดความเป็นพิษต่อตับจากการใช้ยาพาราเซตามอล มีความสัมพันธ์กับการใช้ยาเกินขนาด USFDA จึงมีมาตรการในการลดความเสี่ยงนี้ โดยให้คำแนะนำในการปรับลดขนาดยา พาราเซตามอล ที่ใช้แต่ละครั้งไม่ให้เกิน 650 มิลลิกรัม และขนาดยาสูงสุดต่อวันคือ 2,600 มิลลิกรัม ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงของการที่ผู้บริโภคใช้ยาพาราเซตามอล เกินขนาดโดยไม่ตั้งใจ รวมถึงเป็นขนาดที่แนะน าในกรณีที่ผู้บริโภคมีความไวต่อการเกิดความเป็นพิษต่อตับด้วย ระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีส่วนผสมของพาราเซตามอลด้วย
ตัวอย่างอาการข้างเคียงของยาพาราเซตามอล
อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออก ได้บ้าง (ไม่บ่อย)
มีรายงานความเป็นพิษต่อตับ เมื่อใช้ยาในขนาดสูงกว่าที่แนะนำใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน หรือใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น ตับแข็ง ขาดสารอาหาร ติดสุราเรื้อรัง
ยาเอ็นเสด (เช่น ไอบูโพรเฟน)
เป็นแก้ปวดในกลุ่มเอ็นเสด
สามารถลดไข้ได้ แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ห้ามใช้ยาในผู้ป่วยที่สงสัยเป็นไข้เลือดออก หรือ มีเลือดออกง่าย
ห้ามใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติหอบหืด
ตัวอย่างอาการข้างเคียงของยาไอบูโพรเฟน
ระบบทางเดินอาหาร: ทำให้เกิดคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง แผลในกระเพาะอาหาร
ตับ: เอนไซม์ตับผิดปกติ ตับอักเสบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ทำให้เกิดการคั่งน้ำในร่างกาย ความดันโลหิตสูงขึ้น
ระบบหายใจ: อาการหอบหืดกำเริบ
ระบบไต: ไตวายเฉียบพลัน
บทสรุปยาลดไข้
การกินยาลดไข้ เป็นหนึ่งในวิธีที่ช่วยลดไข้
ยาลดไข้เป็นเพียงยาที่ช่วยระงับหรือบรรเทาอาการไข้ได้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น และเมื่อรักษาที่สาเหตุแล้วไข้ก็จะลดกลับมาเป็นปกติเอง
ยาลดไข้ที่แนะนำคือยาพาราเซตามอล (ถ้าไม่มีข้อห้าม) เพราะมีผลข้างเคียงน้อยและไม่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ยาแก้ปวด (Analgesics)
ความปวด คืออะไร
“ความปวด คือ ประสบการณ์ทางความรู้สึกและอารมณ์ที่ไม่สบาย
ซึ่งเกิดขึ้นร่วมกับการที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย หรือถูกบรรยายประหนึ่งว่ามีศักยะในการทำลายเนื้อเยื่อนั้น”
ผลกระทบของความปวด
กิจกรรมโดยทั่วไป
ความสัมพันธ์กับผู้อื่น
การนอนหลับ
ภาระค่าใช้จ่าย
ความเครียด
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ภาวะซึมเศร้า
วิธีจัดการความปวด
การรักษาโดยใช้ยา
ยาแก้ปวด
ชนิดเสพติดโอปิออยด์ (opioid analgesics)
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งไม่รุนแรง เช่น ทรามาดอล โคเดอีน
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งรุนแรง เช่น เพทธิดีน มอร์ฟีน เฟนตานิล
ข้อควรระวังการบริหารยา
บดแบ่งได้
ห้ามบด-เคี้ยว
ให้ทางสายยาง
การบริหารยาทางสายให้อาหาร
ยามอร์ฟีนชนิดแคปซูล สามารถแกะแคปซูลออกเพื่อผสมน้ำให้ทางสายยางให้อาหารได้ หลังให้ยาควรตามด้วยน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้ยาค้างอยู่ในสายยาง
ถ้าหากผู้ป่วยกลืนลำบาก สามารถถอดปลอกแคปซูลและโปรยเม็ดยาเล็กๆลงบนอาหารอ่อนเช่น โยเกิรต์ หรือแยม และควรกลืนยาภายใน 30 นาที หลังจากโปรยลงอาหาร และกลั้วปากด้วยน้ำเพื่อให้มั่นใจว่ายาถูกกลืนลงไปหมดแล้ว
ชนิดที่ไม่เสพติด (non-narcotic analgesic)
ยากลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs)
ยาพาราเซตามอล
ยากลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs)
ยากลุ่มเอ็นเสด คืออะไร
NSAIDs = Non-Steroidal Anti-Inflammatory Drugs
(กลุ่มยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์)
ยากลุ่มเอ็นเสด คืออะไร
มีฤทธิ์ในการต้านอักเสบ แต่ไม่มีผลต่อการดำเนินโรค
มีฤทธิ์ลดอาการปวด ไม่มีผลต่อการติดยาและกดการหายใจ
แนะนำการกินยาเอ็นเสด หลังอาหารทันทีหรือพร้อมอาหารเพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ห้ามใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติหอบหืด หรือ มีเลือดออกง่าย
กระบวนการอักเสบ
สารอักเสบ มีฤทธิ์เป็นกรด
สารอักเสบทำให้เกิด
ความเจ็บปวด
หลอดเลือดฝอยขยายตัว
เลือดมาเลี้ยงมากขึ้นจึงแดงและร้อน
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเอ็นเสด
ลดการอักเสบ
ลดความปวด
ลดเลือดไปเลี้ยงไต
ลดการหลั่งเยื่อเมือกทางเดินอาหาร
ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด (TXA2)
หลอดลมหดเกร็ง
ขนาดและวิธีใช้ยา
แตกต่างขึ้นกับแต่ละยา และ ข้อบ่งชี้การใช้ยา
ตัวอย่างอาการข้างเคียงของยาเอ็นเสด
ระบบทางเดินอาหาร:
ทำให้เกิดคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง แผลในกระเพาะอาหาร
ตับ:
เอนไซม์ตับผิดปกติ ตับอักเสบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด:
ทำให้เกิดการคั่งน้ าในร่างกาย ความดันโลหิตสูงขึ้น เพิ่มโอกาสการอุดตันหลอดเลือด (บางยา)
ระบบหายใจ:
อาการหอบหืดก าเริบ
ระบบไต:
ไตวายเฉียบพลัน
กินแล้วทำห้ติดยาจริงหรือไม่ ??
การติดยาทางกาย (Physical dependence) เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ยาอย่างต่อเนื่องแล้วหยุดยากะทันหัน หรือรับยาต้านฤทธิ์ยาแก้ปวดกลุ่มเสพติด อาการแสดงที่พบเช่นท้องเสีย, หายใจเร็วและลึก,เหงื่อออก, สั่น หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เป็นต้น แก้ไขได้โดยให้ยาเดิมทดแทนหรือค่อยๆปรับขนาดยายาลดลงทีละน้อยเมื่อต้องการหยุดยา
การติดยาทางใจ (Psychological dependence) หรือการติดยา เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่อยากยา และมีความต้องการยาตลอดเวลา การกลัวติดยาเป็นปัญหาที่ทำให้ผู้ป่วยปฏิเสธการกินยา
บทสรุปยาแก้ปวด
ยามีหลากหลายชนิด การเลือกใช้ขึ้นกับความรุนแรงของอาการปวดและกลไกการปวด
กินยาตามแพทย์สั่ง เช่น ยาแก้ปวดกินต่อเนื่องทุกวันตามมื้อที่กำหนด หรือ ยาแก้ปวดกินเฉพาะเวลามีอาการปวด
ถ้าลืมกินยาให้รีบกินทันทีที่นึกได้ แต่ถ้าใกล้เวลากินมื้อถัดไปแล้ว ให้ข้ามมื้อที่ลืมไปเลย และไม่ควรกินยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
ยาสเตียรอยด์ (Steroids)
ยาสเตียรอยด์ คืออะไร
สเตียรอยด์ธรรมชาติหรือคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroid) เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex)
ทำไมต้องกลัวยาสเตียรอยด์
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานอวัยวะต่างๆของร่างกาย
ควบคุมเมตาบอลิสมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
ควบคุมสมดุลของเกลือแร่
ปรับสมดุลเมื่อร่างกายเผชิญความเครียด
กดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ขนาดและวิธีใช้ยา
แตกต่างแล้วแต่ยา และ ข้อบ่งชี้การใช้ยา
ห้ามหยุดยาทันที ต้องค่อยๆปรับขนาดยาลดลง (Taper dose)
รูปแบบการบริหารยากลุ่มสเตียรอยด์
ยารับประทาน
ยาฉีด / ฉีดเข้าข้อ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นเพื่อรักษาเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ยาหยอดตา
อาการข้างเคียงของยาสเตียรอยด์
การใช้ยาในขนาดปานกลาง (ปริมาณเกิน 10 มิลลิกรัมต่อวัน ของเพรดนิโซโลน หรือเทียบเท่า) ติดต่อกันเป็นเวลาเกิน 1 ปี
การใช้ยาในขนาดสูง (ปริมาณเกิน 30 มิลลิกรัมต่อวัน ของเพรดนิโซโลน หรือเทียบเท่า) ติดต่อกันเป็นเวลาเกิน 1 เดือน
การใช้ยาในขนาดสูงมากๆ (ปริมาณเกิน 100 มิลลิกรัมต่อวัน ของเพรดนิโซโลน หรือเทียบเท่า) ในช่วงที่ใกล้กัน เนื่องจากอาการของโรครุนแรง
เมื่อลดขนาดยาหรือหยุดการใช้ยา อาการข้างเคียงจะลดลงและหายไปได้
ตัวอย่างอาการข้างเคียงของยาสเตียรอยด์
ระบบทางเดินอาหาร:
ทำให้เกิดอาการปวดท้อง แผลในกระเพาะอาหาร
กระดูกและกล้ามเนื้อ:
กระดูกบาง/พรุน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบภูมิคุ้มกัน:
กดภูมิคุ้มกันร่างกาย ทำให้ติดเชื้อง่าย (ยาขนาดสูง)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด:
ความดันโลหิตสูงขึ้น ร่างกายบวมจากการลดการขับโซเดียมและคลอไรด์ เร่งการขับโปแทสเซียม ฟอสเฟต แคลเซียม
ระบบตา:
ความดันในลูกตาสูงขึ้น
ระบบต่อมไร้ท่อ:
การสะสมของไขมันผิดปกติ ภาวะดื้อน้ำตาล
บทสรุปยาสเตียรอยด์
ยาสเตียรอยด์จะถูกพิจารณาในการรักษาโรค โดยเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์และผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ค่อยๆปรับยาเพิ่มขึ้นช้าๆ จนควบคุมอาการได้
ไม่หยุดยาทันทีหลังอาการดีขึ้น แต่จะใช้การค่อยๆลดขนาดยาทีละน้อย