Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) - Coggle Diagram
บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(Personal Income Tax)
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี หมายถึง บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นตํ่าต้องเสียภาษี
แต่ถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือในระหว่างปีภาษี
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง หมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตายในปีถัดจากปีที่ถึงแก่ความตาย
แต่ยังไม่ได้แบ่งให้ทายาท
บุคคลธรรมดา หมายถึง บุคคลโดยทั่วไปที่มีชีวิต โดยสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้ว
อยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลหมายถึง การที่บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกัน ไม่ว่าจะเป็นเงิน แรงงาน หรือทรัพย์สิน เพื่อกระทํากิจการร่วมกันซึ่งไม่ต้องห้ามตามกฎหมาย และไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี
4) บุคคลที่อยู่ในประเทสที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทยได้ทําไว้
5) ยกเว้นให้บุคคลตามที่กําหนดไว้ในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การรัฐมนตรี
ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3) สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุล บุคคลในคณะทูต บุคคลในคณะกงสุล
6) เงินได้ที่ผู้ว่าการ ผู้ว่าการสํารอง กรรมการ กรรมการสํารอง พนักงาน ลูกจ้าง
2) องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ และเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้เชี่ยวชาญขององค์การ
7) บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติอเมริกันซึ่งเป็นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษัท
หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
1) บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สิ่งที่ต้องทราบต่อไปคือ ฐานภาษีและอัตราภาษี เพื่อที่จะคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ต้องชําระ ซึ่งฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ เงินได้สุทธิ คํานวณได้จากเงินได้พึงประเมิน หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนในรอบปีภาษี
เงินได้พึงประเมิน
หมายถึง เงินได้อันมีลักษณะพึงต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา39
เงิน หมายถึง เงินตราไทย หรือเงินตราต่างประเทศ
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน
ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน
เงินค่าภาษีอากรที่ผ้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้
เครดิตภาษีเงินปันผล
แหล่งเงินได้
เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ หมายถึง เงินได้ที่เกิดขึ้นหรือเป็นผลสืบเนื่องมาจากมี
2.1 หน้าที่งานที่ทําในต่างประเทศ
2.2 กิจการที่ทําในต่างประเทศ
2.3 ทรัพย์สินที่อย่ในต่างประเทศ
เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ ผู้มีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วจากแหล่งในประเทศไทย ไม่ว่าผู้มีเงินได้นั้นจะเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม
1.3 กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
1.4 ทรัพย์สินที่อย่ในประเทศไทย
1.2 กิจการที่ทําในประเทศไทย
1.1 หน้าที่งานที่ทําในประเทศไทย
เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
(2) การยกเว้นตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126
(3) การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา
(1) การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร
(4) การยกเว้นตามกฎหมายอื่น
การยกเว้นภาษีเงินได้แบ่งได้ดังนี้
ประเภทเงินได้พึงประเมิน
และการหักค่าใช้จ่าย
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40(4)) ได้แก่ 1. 40(4)(ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน 2. 40(4)(ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกําไร
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40(5)) ได้แก่ เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3(มาตรา 40(3)) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิอย่างอื่น เงินปี
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40(6)) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40(2)) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตําแหน่งงานที่ทําหรือจากการรับทํางานให้
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40(7)) ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40(1)) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40(8)) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่น
ค่าลดหย่อน
บุตร คนละ 30,000 บาท
บิดามารดาของผู้มีเงินได้ หรือคู่สมรส หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
คู่สมรสของผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ
ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท (ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศไทยถึง 180 วัน หรือไม่ก็ตาม)
เบี้ยประกันชีวิต
ความผิดทางภาษี
ความผิดทางอาญา
กรณีฝ่าฝืนคําสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์ของเจ้าพนักงานต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน
1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
กรณีไม่ยื่นขอมีเลขประจําตัวผู้เสียภาษีภายในกําหนดเวลาที่กฎหมายกําหนดต้อง
ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ความผิดทางแพ่ง
กรณีเจ้าพนักงานตรวจสอบออกหมายเรียก และปรากฏว่ามิได้ยื่นแบบแสดงรายการไว้
หรือยื่นแบบแสดงรายการไว้ แต่ชําระภาษีขาดหรือตํ่าไป
กรณีไม่ชําระภาษีภายในกําหนดเวลาจะต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษ ของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชําระนั้น นับแต่วันพ้นกําหนดเวลาการยื่นรายการจนถึงวันชําระภาษี โดยให้เริ่มนับแต่วันพ้นกําหนดเวลายื่นรายการจนถึงวันชําระภาษี