Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมองค์การ - Coggle Diagram
พฤติกรรมองค์การ
นิยาม และความหมาย พฤติกรรมองค์การ
การรับรู้ของบุคคล รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตลอดจนพฤติกรรมที่เป็นภาพรวมระดับองค์การ
คําว่า “พฤติกรรม” นับว่าเป็นกุญแจสําคัญ อาจกล่าวได้ว่า
ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพฤติกรรมโดยตรง ก็คือ “จิตวิทยา”
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ โดยศึกษากระบวนการของปัจเจกบุคคล กลุ่ม และองค์การ
อย่างเป็นระบบ
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ
จิตวิทยา
สังคมวิทยา
จิตวิทยาสังคม
มานุษยวิทยา
รัฐศาสตร์
ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์
บุคลิกภาพ
มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน
หนดทิศทางการดําเนินงาน
มีผลต่อความน่าเชื่อถือ
มีผลต่อการสร้างความสัมพันธ์
ปัจจัยทีเป็นตัวกําหนดตัวบุคลิกภาพของบุคคล
ตัวกําหนดทางด้านชีวิทยา
ตัวกําหนดทางด้านการเป็ นสมาชิกของกลุ่มต่างๆ
ตัวกําหนดทางด้านวัฒนธรรม
ตัวกําหนดทางด้านสถานการณ์
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
1) อิด (Id)
2) อีโก (Ego)
3) ชูเปอร์อีโก (Superego)
The Big – Five Model of Personality
1) ความเกินพอดี
2) ออมชอม
3) จิตสํานึกดี
4) ความมุ่งมั่นในอารมณ์
5) เปิดรับประสบการณ์
บุคลิกภาพทีพึงประสงค์ในการทํางาน
ความเป็นคนช่างสังเกต
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีหัวใจเป็นคนทํางาน
มีมนุษยสัมพันธ์ดี
มีลักษณะผู้นํา
มีความเป็นระเบียบและมีวินัย
การรับรู้
กระบวนการย่อยของการรับรู้
สภาพแวดล้อมภายนอก
การจัดระเบียบ
การคัดเลือก
การเผชิญหน้า
การตีความ
ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการับรู้
ผู้รับรู้
สถานการณ์
เป้าหมาย
การปรับแต่งพฤติกรรมพนักงาน
การจูงใจในทางบวก
การจูงใจในทางลบ
ใช้วิธีเลิกให้ความสนใจ
การใช้วิธีลงโทษ
ทัศนคติ
โครงสร้าง
ความพอใจของบุคคล
ความตระหนัก
ความตั้งใจ
องค์ประกอบ
ด้านความคิดความเข้าใจ
ด้านความรู้สึก
แนวโน้มของพฤติกรรม
การเรียนรู้
หลักการ
ความรู้
ความเข้าใจ
การนําความรู้ไปประยุกต์
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
องค์ประกอบ
แรงขับ
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
การเสริมแรง
ลําดับขั้น
1) ประสบการณ์
2) ความเข้าใจ
3) ความนึกคิด
การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ
ระดับบุคคล การวิเคราะห์องค์การในระดับนี้เป็นระดับต้น
ระดับกลุ่ม การศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การจึงต้องวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของกลุ่มด้วย
ระดับองค์การ การวิเคราะห์ระดับนี้เป็นระดับที่มีความซับซ้อนมากที่สุด