Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Care of patient examined by Lumbar puncture การเจาะน้ำไขสันหลัง,…
Care of patient examined by Lumbar puncture การเจาะน้ำไขสันหลัง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดได้
ในผู้ป่วยที่เลือดออกง่ายหยุดง่าย ควรกดแผลเป็นเวลานานกว่าปกติ เพื่อให้เลือดหยุดไหล
ปวดตึงเล็กน้อยบริเวณที่โดนเจาะ
ผลแทรกซ้อนที่น่ากลัวแต่หายากได้แก่
จิ้มโดนไขสันหลัง
เกิดก้อนเลือดกดไขสันหลังจนเป็นอัมพาตขา
ปวดหัวเกินกว่า1ปี
ติดเชื้อ
ปวดหัว(เป็นนานประมาณ 1สัปดาห์หลังการเจาะ) แปลบๆชาๆที่ขา
ประโยชน์น้ำไขสันหลัง
เป็นกันชนไม่ให้สมองและไขสันหลังได้รับการกระทบกระเทือนจากภายนอก
สามารถนำมาใช้ตรวจดูการติดเชื้อในระบบบประสาทส่วนกลางได้
ทำหน้าที่ในการขนส่งอาหารและลำเลียงของเสียต่าง ๆ ออกจากสมอง
ข้อควรระวังจากการตรวจ
ควรหลีกเลี่ยงการเจาะไขกระดูกตรงตำแหน่ง sternum ในผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือหรือผู้ป่วยที่มีกระดูกบางกว่าปกติ
การเจาะไขกระดูกควรทำด้วยวิธี aseptic technique โดยเฉพาะมนผู้ป่วยที่เม็ดเลือดขาวต่ำถึงแม้โอกาสติดเชื้อจากการเจาะไขกระดูกจะพบน้อยมากก็ตาม
การใช้ guard มีความจำเป็นในการเจาะไขกระดูกที่ sternum เพื่อป้องกันเข็มเจาะทะลุกระดูก
ควรหลีกเลี่ยงการเจาะไขกระดูกในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ coaglulation factors เพราะจะทำให้เลือดออกไม่หยุด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการเจาะไขกระดูก
1.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงเหตุผลของการเจาะ วิธีการเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและให้ความร่วมมือ
2.เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมด้วย aseptic technique
3.จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม
4.อยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยในระหว่างที่แพทย์ทำการเจาะไขกระดูก พร้อมกับสังเกตอาการผิดปกติ
5.หลังจากแพทย์เจาะเสร็จแล้วควรใช้สำลีหรือผ้าก๊อซกดแผลจนเลือดหยุดไหล หรือให้ผู้ป่วยนอนหงายทับ
6.วัดสัญญาณชีพผู้ป่วย
7.ประเมินอาการปวดแผลและสังเกตภาวะเลือดออกมากกว่าปกติบริเวณแผลเจาะ
นางสาวพิชามญชุ์ เชิงทวี เลขที่ 59 รหัสนักศึกษา 62111301061 ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 37