Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High alert drug) และบัญชีหลักแห่งชาติ - Coggle…
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High alert drug)
และบัญชีหลักแห่งชาติ
ยาที่มีความเสี่ยงสูง(High Alert Drug; HAD)
กลุ่มยาที่มีโอกาสสูงที่จะเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษาแคบ หรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะสำคัญ
สมอง
หัวใจ
ไต
ชนิดหรือรายการยาความเสียงสูง
จะมีความแตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล
ตัวอย่างยาที่มีความเสี่ยงสูงในศิริราช
กลุ่มยารักษาโรคหัวใจกรณีวิกฤต
nicardipine
nitroglycerine
Neuromuscular blocking agents
Atracurium
cisatracurium
Adrenergic agonist :adrenaline
การเก็บรักษายาที่มีความเสี่ยงสูง
ต้องมีสัญลักษณ์สีชมพูสด เตือนว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง
กลุ่มยาเสพติด
fentanyl
morphine
pethidine
ต้องจำกัดการเข้าถึง ต้องใส่ในตู้หรือลิ้นชักที่ lock เสมอมีผู้ควบคุม ตรวจสอบจำนวนยาอย่างสมํ่าเสมอ
HAD ทุกชนิดต้องรักษาโดยแยกจากยาอื่นๆหรือป้องกันการเข้าถึงได้ง่าย
การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
การจ่ายยา HAD ต้อง double check เสมอ
การจ่ายยา HAD ที่มีเครื่องหมาย
**
ที่ชื่อยา ต้องติดสติ๊กเกอร์วงกลมสีชมพู ฉลากช่วย เอกสารแนะนำผู้ป่วยประกอบการส่งมอบยาทุกครั้ง
เมื่อได้รับใบสั่งยา HAD เภสัชกรต้องตรวจสอบซํ้า ชื่อ-สกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยา อันตกิริยาระหว่างยา (drug interaction) ข้อห้ามในการใช้ยา(contraindication) ถ้าพบปัญหาเภสัชกรต้องติดต่อแพทย์ผู้สั่งทันที
การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
ไม่สั่งยา HAD ด้วยวาจา
ไม่ใช้คำย่อในการสั่งยาที่นอกเหนือ
จากระเบียบการสั่งจ่ายยาของรพ.
แพทย์ระบุตัวผู้ป่วยถูกต้อง
แพทย์คำนวณขนาดยาซํ้าการณีต้องมีการคำนวณ
การบริหารยา
การเตรียมยาให้ปฏิบัติตามที่ระบุในคู่มือยาแต่ละชนิด
พยาบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจสอบซํ้าก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
เมื่อต้องให้ยาแก่ผู้ป่วย แพทย์หรือพยาบาลผู้ให้ยาต้องตรวจสอบชื่อนามสกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยาให้ถูกต้องซํ้าก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
การเฝ้าระวังผลการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงหรือเกิดความผิดพลาดผู้พบต้องรายงานอุบัติการณ์ทันที
พยาบาลแจ้งแพทย์เจ้าของไข้ทันทีเมื่อพบความผิดปกติ
พยาบาลเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยตามคู่มือ ตืดตามและลงบันทึกผลการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงไว้ในแฟ้มผู้ป่วย
Adrenaline (Epinephrine)
ขนาดยาที่มีในโรงพยาบาล คือ 1 mg/mL และ 100 mcg/mL
ระวังสับสนระหว่าง epinephrine และ ephedrine
ข้อบ่งใช้คือ รักษาอาการแพ้อย่างรุนแรง (รวมถึงภาวะ anaphylactic shock) หลอดลมตีบ หัวใตหยุดเต้น (cardiac arrest)
ความคงตัวหลังเจือจางยา 24 ชั่วโมงในตู้เย็น
สารนํ้าที่ใช้ได้ D5W , NSS
ระวังสับสนเรื่องความแรงของยา
Adrenaline 1: 1,000 = 1 mg/mL บริหารยาทาง SC
Adrenaline 1: 10,000 = 0.1 mg/mL บริหารยาทาง IV
Adrenaline injection
Bronchospasm
Cardiac arrest
Severe allergy reaction
(including anaphylacticshock)
Indication :
Diluent :
NSS or D5W
Stability:24 hours in 2-8 องศา
Calcium injection
10% Calcium gluconate Injection (10 mL)
10% Calcium chloride Injection (10 mL, 250 mL)
Screening
ควรหลีกเลื่ยงการใช้ร่วมกับยากลุ่ม cardiac glycoside (digoxin)
ห้ามใช้ร่วมกับ ceftriaxone ในทารกแรกเกิด
ค่าปกติ serum calcium (Ca2+ ) = 4.2-5.1mEq/L
การให้ยาแก่ผู้ป่วย
ควรแยกเส้นการให้ Ca++IV กับยาอื่นๆเพราะอาจเกิดการตกตะกอนเมื่อผสมกับยาอื่นๆโดยเฉพาะ phosphate
ควรให้ IV ไม่ควรให้ IM หรือ SC เพราะจะทำให้เกิด necrosis ได้
ห้ามผสมใน bicarbonate เพราะอาจตกตะกอน
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด Extravasation
บุคลากร
เลือกเข็มแทงไม่เหมาะสม
แทงเข็มมากกว่า 1 ครั้ง
การเลือกตำแหน่งที่ไม่เหมาะสม
ติดตามเฝ้าระวังไม่เหมาะสม
คุณสมบัติของยา
ยาที่มีความเป็นกรดหรือด่างสูง(acid or alkaline drugs)
ยาที่มีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
ยาที่มีความเข้มข้นสูง (Hyperosmolar drugs)
ยาที่มีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัว
ยาที่สามารถทำลายเซลล์โดยตรง
ยาที่มีฤทธิ์ต้านการแข็งตัวของเลือด
ผู้ป่วย
ระดับความรู้สึกตัว
การแทงเข็มในการเปิดเส้นเลือดดำยาก
สภาพผิวและลักษณะหลอดเลือด
ประวัติการเกิด extravasation มาก่อน
อายุ (เด็ก ผู้สูงอายุ)
บัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาจากสมุนไพร
รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทย
หรือยาแผนโบราณและยาพัฒนาจากสมุนไพร
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
รายการยาแผนปัจจุบันสำหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ประกอบด้วยบัญีชีย่อย 5 บัญชี
บัญชี ค
บัญชี ง
บัญชี ข
บัญชี จ
บัญชี ก
รวมทั้งรายการยาเภสัชตำรับโรงพยาบาล
เภสัชตำรับโรงพยาบาล
รายการยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้น
ใช้ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำรับของโรงพยาบาล
เกณฑ์การแบ่งระดับสถานบริการในสังกัดสำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ
หน่วยบริการการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care)
โรงพยาบาลทั่วไป
หน่วยบริการการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care)
โรงพยาบาลศูนย์,โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์
หน่วยบริการการระดับปฐมภูมิ (Primary care)
โรงพยาบาลชุมชน
การแบ่งระดับสถานพยาบาล
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์
บัญชี ก : รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรกตามข้อบ่งชี้ใช้ของยานั้น
บัญชี ข : รายการยาที่ใช้สำหรับข้อบ่งชี้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาบัญชี ก ไม่ได้ หรือไม่ได้ผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจำเป็น
บัญชี ค : รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชำนาญ หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนวยการของสถานพยาบาลนั้นๆ
บัญชี ง : รายงานยาที่มีหลายข้อบ่งชี้ แต่มีความเหมาะสมเพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนมโน้มจะมีการสั่งยาไม่ถูกต้อง หรือยาที่มีราคาแพงจำเป็นสำหรับผู้ป่วยบางรายแต่อาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือก่อปัญหาเชื้อดื้อยาที่รุนแรง
บัญชี จ :
บัญชี จ(๑) รายการยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรมหรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ มีงบประมาณ วัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินโครวการ ระยะเวลาเริ่มต้น และสิ้นสุดโครงการที่ชัดเจน
บัญชี จ(๒) รายการยาสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะ ให้เข้าถึงยาได้อย่างสมเหตุผลคุ้มค่าและยั่งยืน ซึ่งมีการจัดกลไกกลางเป็นพิเพศในกำกับการใช้ยาภายใต้ความรับผิดชอบร่วมกันของระบบประกันสุขภาพ