Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High alert drug) และบัญชียาหลักแห่งชาติ - Coggle…
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High alert drug)
และบัญชียาหลักแห่งชาติ
ยาที่มีความเสี่ยงสูง(High alert drug)
กลุ่มยาที่มีโอกาสสูงที่จะเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษาแคบ หรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต
ชนิดหรือรายการยาความเสี่ยงสูงจะมีความแตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล
ตัวอย่างยาที่มีความเสี่ยงสูงในโรงพยาบาลศิริราช
Adrenergic agonist : adrenaline
Neuromuscular blocking agents :
Atracurium ,cisatracurium
การเก็บรักษาที่มีความเสี่ยงสูง
ต้องมีสัญลักษณ์สีชมพูสด เป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง โดยฝ่ายเภสัชกรรมเป็นผู้ดำเนินการติดฉลากหรือที่หลอดยา (เฉพาะ 14 รายการแรกจาก 18 รายการ)
กลุุ่มยาเสพติด ได้แก่ fentanyl ,morphine
,pethidine ต้องจำกัดการเข้าถึงต้องใส่ในตู้หรือลิ้นชักที่ล็อกเสมอ มีผู้ควบคุม ตรวจสอบจำนวนยาอย่างสม่ำเสมอ
HAD ทุกชนิดต้องเก็บรักษาโดยแยกจากยาอื่น ๆ ป้องกันการเข้าถึงได้โดยง่าย
การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
การจ่ายยา HAD ต้อง double check เสมอ
การจ่ายยา HAD ที่มีเครื่องหมาย
**
ที่ชื่อยา ต้องติดสติ๊กเกอร์วงกลมสีชมพู ฉลากช่วยเอกสารแนะนำผู้ป่วยประกอบการส่งมอบยาทุกครั้ง
เมื่อได้รับใบสั่งจ่ายยา HAD เภสัชกรต้องตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยา อันตรกิริยาระกว่างยา (drug interaction) ข้อห้ามในการใช้ยา(contraindication) ถ้าพบปัญหาเภสัชกรต้องติดต่อแพทย์ผู้สั่งยาทันที
การสั่งจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
แพทย์ระบุตัวผู้ป่วยอย่างถูกต้องและพิจารณาผล lab หรือค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญก่อนสั่งยา HAD
แพทย์คำนวณขนาดยาซ้ำกรณีต้องมีการคำนวณ
ไม่ใช้คำย่อในการสั่งยาที่นอกเหนือจากระเบียบการสั่งจ่าย
ยาของรพ.
แพทย์พิจารณาข้อห้ามใช้และอันตรกิริยาระหว่างยา HAD กับยาอื่น ๆ ที่ผู้ป่วยใช้อยู่ก่อน
ไม่สั่งยา HAD ด้วยวาจา
การบริหารยา
การเตรียมยาให้ปฏิบัติตามที่ระบุในคู่มือยาแต่ละชนิด
พยาบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยาผู้ป่วย
เมื่อต้องให้ยาแก่ผู้ป่วยแพทย์หรือพยาบาลผู้ให้ยาต้องตรวจสอบชื่อนามสกุลผู้ป่วย ชื่อยา ขนาดยาให้ถูกต้องซ้ำก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
การเฝ้าระวังผลการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
พยาบาลแจ้งแพทย์เจ้าของไข้ทันที เมื่อพบความผิดปกติหรือความผิดพลาดจากการใช้ยา HAD
เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงหรือเกิดความผิดพลาดที่ถึงตัวผู้ป่วยจาการใช้ยา HAD ผู้พบเหตุการณ์ต้องรายงานอุบัติการณ์ทันที
พยาบาลเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยตามคู่มือติดตามและลงบันทึกผลการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงไว้ในแฟ้มผู้ป่วย
Adrenaline (Epinephrine)
ขนาดยาที่มีในโรงพยาบาลคือ 1 mg/mL และ 100
mcg/mL
ระวังสับสนระหว่าง epinephrine กับ ephedrine
ข้อบ่งใช้คือรักษาอาการแพ้อย่างรุนแรง (รวมถึงภาวะanaphylactic shock)หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น(cardiac arrest)
ควรหลีกเลี่ยงการฉีดเข้ากล้ามเนื้อบริเวณสะโพก
เนื่องจากอาจทำให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนื้อตาย
ควรให้ทาง central lineถ้าไม่สามารถให้ได้แนะนำเส้นเลือดใหญ่ หลีกเลี่ยง ankle veins (เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิด gangrene)
ไม่ควรใช้เมื่อยาตกตะกอน หรือเปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือสีน้ำตาลอ่อน
บัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
บัญชียาจากสมุนไพร
รายการยาสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาสมุนไพร
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
รายการยาแผนปัจจุบันสำหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
บัญชี ค : รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ
มีความพร้อม (วินิจฉัยจนถึงการติดตามผลการรักษา) เนื่องจาก
ถ้าใช้ยากลุ่มนี้ไม่ถูกต้อง อาจเป็นพิษหรืออันตรายต่อผู้ป่วยหรือเป็นสาเหตุให้เกิดเชื้อดื้อยาได้ง่าย
เป็ นยาที่มีแนวโน้มในการใช้ไม่ตรงตามข้อบ่งชี้หรือไม่คุ้ม หรือมีการนำไปใช้ในทางที่ผิด หรือมีหลักฐานในการสนับสนุนหรือมีประสบการณ์การใช้ในประเทศไทยอย่างจำกัด
มีมาตรการกำกับการใช้ยา
บัญชี ข : รายการยาที่ใช้สาหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชีก ไม่ได้หรือไม่ได้ผลหรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจำเป็น
บัญชี ก : รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรกตามข้อบ่งใช้ของยานั้น
บัญชี ง : รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมเพียงบางข้อบ่งใช้หรือมีแนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้องเป็นยาที่มีราคาแพงจำเป็นสำหรับผู้ป่วยบางรายแต่อาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือก่อปัญหาเชื้อดื้อยาที่ร้ายแรง
วินิจฉัยและสั่งใช้ยา โดยผู้ชำนาญเฉพาะโรคที่ได้รับการฝึกอบรมในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องจากสถานฝึกอบรมหรือได้รับวุฒิบัตร หรืออนุมัติบัตรจากแพทยสภา หรือทันตแพทยสภาเท่านั้น
มีระบบกำกับประเมินและตรวจสอบการใช้ยา (Drug
Utilization Evaluation, DUE)
ใช้ยาตามข้อบ่งใช้และเงื่อนไขที่กำหนด
บัญชี จ:
(๑) รายการยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรมหรือหน่วยงานรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ มีงบประมาณ วัตถุประวงค์ วิธีการดำเนินโครงการ ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการที่ชุดเจน มีการกำหนดวิธีการใช้และแนวทางในการติดตามประเมินการใช้ยาตาโครงการ
รายการยาสำหรับผู้ปาวยที่มีความจำเป็นเฉพาะให้เข้าถึงยาได้อย่างสมเหตุสมผลคุ้มค่าและยั่งยืน ซึ่งมีการจัดกลไกกลางเป็นพิเศษในการกำกับการใช้ยาภายใต้ความรับผิดชอบร่วมกันของระบบประกันสุขภาพ
“เภสัชตำรับโรงพยาบาล”
รายการยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้นใช้ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำรับของโรงพยาบาล
เกณฑ์การแบ่งระดับสถานบริการในสังกัดสำนักงาน
หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) : โรงพยาบาลทั่วไป
หน่วยบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) : โรงพยาบาลศูนย์ , โรงพยาบาลแพทย์
หน่วยบริการระดับปฐมภูมิ (Primary care) : โรงพยาบาลชุมชน
การแบ่งระดับสถานพยาบาล
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์