Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต, โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด, นางสาวกชกร…
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต
Aneurysm หลอดเลือดแดงโป่งพอง
ชนิดการโป่งพอง
True
โป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False
โป่งพองเฉพาะบางส่วนของหลอดเลือด
ชนิด
Fusiform aneurysm
การโป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccular aneurysm
การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm
การโป่งพองที่มีการแยกชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด
แบบไม่คงที่
สาเหตุ
การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน
ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัวจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนเกิดการอุดตัน
เกิดรอยแยกทำให้ร่างกายมีการตอบสนอง
เกิดขึ้นได้แม้จากการนั่งพัก นอนหลับ หรือขณะใช้ร่างกาย
ภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่
แบบคงที่
เส้นเลือดหัวใจมีตำแหน่งตีบตันทั่วไปอย่างคงที่
มีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้เพียงพอถ้ากำลังนั่งพักหรือหัวใจเต้นช้า
ถ้าหัวใจเต้นเร็วขึ้น เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจในปริมาณเดิมก็จะไม่เพียงพอ
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ
หน้าที่
แบ่งเป็นซีกซ้ายซีกขวาประกอบด้วยหัวใจห้องบนห้องล่าง
หัวใจมี 4 ห้อง
ระหว่างห้องบนห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
ให้เลือดไหลในทางเดียวไม่ให้ไหลย้อนกลับ
ทำหน้าที่เปิด ปิด
หลอดเลือด
หน้าที่
รักษาความสมดุลกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้เป็นปกติ
นำของเสีย CO2 จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
ลำเลียงฮอร์โมนและเอนไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์
ระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย
ทำงานกว้างขวาง
วงจรใหญ่
วงจรไหลเวียนผ่านปอด
ทำงานน้อย
วงจรเล็ก
Rheumatic Heart Disease
สาเหตุ
ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อ
ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำลายเชื้อแต่ภูมิต้านทานกลับมาทำร้ายตัวเอง
ผลที่ตามมา
เกิดพังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจแข็งปิดได้ไม่เต็มที่
โรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาตั้งแต่กำเนิด
Atherosclerosis
สาเหตุ
อาหารและภาวะ hypercholesterolemia
hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
ตำแหน่งที่พบคือ abdominal aorta
พบไขมันสพสมใน tunica intima
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับมีธรอมบัสภายในหลอดเลือด
เกิดการอุดตันได้
Phlebothrombosis
Varicose vein
การที่หลอดเลือดดำในบริเวณใต้ผิวหนังชั้นตื้น (Superficial Veins) มีการโต ขยายขนาด คดเคี้ยว ซึ่งมองเห็นด้วยตาเปล่าในขณะที่เรายืน
Endocarditis
Non-infective
ไม่พบเชื้อใน Vegetation ในผู้ป่วย RHD
infective
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดกับผู้ที่มีลิ้นหัวใจผิดปกติ
เกิดกับผู้ที่มีลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
Acute bacterial Endocarditis
มักเกิดกับหัวใจปกติ
โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในตำแหน่งช่องท้องโป่งพอง
อาการแสดง
คลำได้ก้อน
คลำชีพจรได้ในช่องท้องคล้ายหัวใจเต้น
ผู้ป่วยอาจ ปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง
ปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชายเกินอายุ 60 ปี
กรรมพันธุ์
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygen ไม่สมดุลกับที่ใช้ไป
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจ
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่
ด้านขวาจะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายส่วนล่าง
ด้านซ้าย
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายที่เหลือทั้งหมด
left anterior descending artery แขนงที่มาด้านหน้า
left circumflex artery แขนงที่อ้อมไปเลี้ยงด้านหลัง
Berger's didease
ลักษณะของโรค
ไม่มี atheromas หรือเกิดน้อย
มีการอักเสบของหลอดเลือด
การอุดตันของหลอดเลือด
อาการ
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือด
เป็นแผลเรื้อรัง
กลุ่มไม่มีอาการเขียว Acyanotic
Atrial SEptal Defect
มักมีรูรั่วเดียวแต่ก็อาจพบรูรั่วหลายรูได้
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องบนขวา (RA) และซ้าย (LA)
Coarcation of aorta
Ductal type
Preductal type
Postductal
Ventricular Septal Defect
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่างขวาและซ้าย
Pulmonary Stenosis
ภาวะที่ลิ้นหัวใจพัลโมนารีซึ่งอยู่ด้านขวาของหัวใจเกิดการตีบแคบอย่างผิดปกติ
หัวใจต้องทำงานหนักขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดเข้าสู่ปอด
Patent Ductus Arteriosus
ความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus
ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
Aortic Stenosis
ภาวะที่ลิ้นเอโอติกในหัวใจด้านซ้ายเกิดการตีบแคบอย่างผิดปกติ
ทำให้หัวใจต้องทำงานให้หนักขึ้นเพื่อดันเลือดผ่านลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรั่ว
Tricuspid stenosis
Mitral stenosis
Aortic stenosis
Pulmonic stenosis
การที่ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิททำให้เลือดไหลย้อนกลับ
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรูมาติก
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ
เกิดการทำลายเนื้อเยื่ออื่นๆรวมทั้งลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเปิด-ปิด ไม่ดีเหมือนปกติ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย
ลิ้นหัวใจผิดรูป
เกิดการเปิด-ปิด ไม่สนิทเกิดลิ้นหัวใจรั่วได้
เส้นเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มมีอาการเขียว
Tetralogy of fallot
Transposition of the great arteries
Pulmonary artersia
Tricuspid artresia
นางสาวกชกร ผ่องแก้ว รหัสนักศึกษา 644N46101