Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory Assessment…
การตรวจร่างกายระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory Assessment )
การดู
ลักษณะของผิวหนังทรวงอก
ภาวะปกติ
Normal color
ไม่มีรอยผ่าตัด
ไม่มี Spider nevi
ภาวะผิดปกติ
มีผื่น มีแผล
มี Spider nevi
มีรอยแผลผ่าตัด
ขนาดและรูปร่างของทรวงอก
ภาวะปกติ
Normal shape
AP : Transverse diameter เป็น 1 : 2
ไม่มีลักษณะอกไก่ , อกบุ๋ม , อกถังเบียร์
ภาวะผิดปกติ
ขนาดทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ช่องซี่โครงแคบหรือกว้างเกินไป
มีลักษณะอกไก่ ( Pigeon chest
ลักษณะอกบุ๋ม ( Funnel chest )
การเคลื่อนไหวของทรวงอก
สังเกตการขยายตัวทรวงอก สังเกตอัตราการหายใจ ความลึก จังหวะ
ภาวะปกติ
การเคลื่อนไหวทรวงอกสัมพันธ์กับการหายใจ และเท่ากันทั้ง 2 ข้าง
ภาวะผิดปกติ
การเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่สัมพันธ์กับการหายใจ
การฟัง
การฟังเสียงที่ผิดปกติ
Stridor
เป็นเสียงหวีด
Wheezing
เสียงแหลมกว่า rhonchi ขึ้นกับความเร็วของลมที่วิ่งผ่าน
Rhonchi
เสียงใหญ่และทุ้ม หลอดลมขนาดใหญ่ตีบแคบ
Crepitation
เสียงที่ไม่ต่อเนื่อง เกิดจากลมหายใจ
Normal breath sound
Vesicular breath sound
บริเวณชายปอดทั้ง 2 ข้าง ลักษณะเสียงเบาหายใจเข้ายาว ออกสั้น ฟังได้ทั่วทั้งปอดหรือบริเวณถุงลม
Bronchovesicular breath sound
บริเวณรอบ manubriu
ภาวะปกติ : เสียงดังปานกลาง หายใจเข้าออกเท่ากัน มีช่องว่างเงียบระหว่างเสียงหายใจเข้าและออก
Tracheal breath sound
บริเวณคอ ตำแหน่ง Tracher และ Brochu
ภาวะปกติ : ลักษณะเสียงจะดังมาก หายใจเข้าสั้น ออกยาว มีช่องว่างเงียบระหว่างเสียงหายใจเข้าออก
การคลำ
ตำแหน่งของหลอดลม
ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนก้มคอมาข้างหน้า ผู้ตรวจใช้นิ้งชี้และนิ้วกลางกดลงบน Suprasternal notch
ภาวะปกติ : ช่องว่างระหว่างหลอดลมกับ Sternocleidomastoid ทั้ง 2 ข้างเท่ากัน
Lung expension
วางฝ่ามือ 2 ข้าง ทาบทรวงอกด้านหลังใช้นิ้วหัวแม่มือวางขนานกับ Rib ที่ 10 ฝ่ามือโอบด้านขางทรวงอก ปลายนิ้วหัวแม่มืออยู่ใกล้แนวกระดูกสันหลังผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
ภาวะปกติ : ฝ่ามือทั้งสองรู้สึกขยายออกเท่ากันนิ้วหัวแม่มือเคลื่อนออกจากจุดกึ่งกลางออกเท่ากัน
ภาวะผิดปกติ : ความรู้สึกถูกดันขยายของมือทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
Tactile fremitus
ใช้ฝ่ามือหรือสันมือวางบนผนังอกด้านหลังจากบนลงล่างหรือล่างขึ้นบน ผู้ป่วยนับ 1 2 3 จะรู้สึกถึงการสะเทือน
ภาวะปกติ : ความรู้สึกสั่นสะเทือนมากที่สุดบริเวณกระดูกออกตรง ICS 2 สั่นสะเทือนเท่ากัน
ภาวะผิดปกติ : ภาวะผิดปกติคลำได้ tactile fremitus ลดลง เพิ่มขึ้น
คลำตำแหน่งที่กดเจ็บ
เช่น Costochondral junction
การเคาะ
นิ้วมือซ้ายเหยียดตรงวางแนบบริเวณที่จะตรวจใช้นิ้วกลางมือขวาเคาะลงบนนิ้วกลางมือซ้าย บริเวณ Distal interphalangeal join
ภาวะปกติ : ได้ยินเสียงเคาะ Resonance ทั่วทั้งปอดด้านหน้ามีเสียง Dullness บริเวณซ้าย Sternum ตั้งแต่ช่องซี่โครง 3-5 มีเสียง Dullness ของตับที่ช่องซี่โครง 6
ภาวะผิดปกติ : พบเสียง Hyperresonance
การตรวจบริเวณทรวงอกและปอด
( Thorax / Chest and lung )
ตำแหน่งที่สำคัญบริเวณทรวงอก Anatomical landmark
Costal angle
Angle of Louis
เป็นส่วนต่อระหว่าง Manubrium กับ Sterni sternum คลำได้ชัดบริเวณซี่โครงที่ 2 ทางด้านหน้า
Spinous process of T1
ให้ผู้ป่วยก้มคอ คลำได้ปุ่มนูนที่สุดคือบริเวณ C7 และ T1
Inferior angle of scapula
เป็นตำแหน่งที่ตรงกับกระดูกซี่โครงที่ 7 ด้านหลัง
Suprasternal notch
Nipple
เส้นสมมติที่สำคัญ ( imagination line )
เป็นเส้นที่ใช้เปรียบเทียบบอกตำแหน่งของสิ่งที่ตรวจบนทรวงอก
Mid sternal line
ลากจากแนวดิ่งผ่านกลาง Sternum
Mlid clavicular line
ลากจากเส้นแนวดิ่ง ผ่านจุดกึ่งกลางกระดูกไหปลาร้า
Mid axilary line
ลากเส้นในแนวดิ่งผ่านจุดกึ่งกลางรักแร้
Posterior axilary line
ลากเส้นในแนวดิ่งผ่านรอยพับด้านหลังรักแร้
Vertebral line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านกระดูกสันหลัง
Anterior axilary line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านรอยพับด้านหน้าของรักแร้
Scapular line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านมุมแหลมล่างของกระดูกสะบัก
นางสาวภัทรจาริน กองกะมุด เลขที่ 51 กลุ่ม 2