Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
gram-positive bacteria, Spirochetes - Coggle Diagram
gram-positive bacteria
Bacillus cereus
- เชื้อสร้าง Enterotoxin >> Food Poisoning▪ heat stable enterotoxin : มีอาการอาเจียน▪ heat labile enterotoxin : ท้องร่วง
- ตาอักเสบ (Panophthalmitis)
▪ แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดิน >> แพร่เข้าตา
▪ เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว >> ท าลายเนื้อเยื่อเรตินา้ >> สูญเสียการมองเห็นภายใน 48 ชม.
-
Clostridium
Clostridium tetani
-
อาการและอาการแสดง
- อาการขากรรไกรแข็ง : เนื่องจากการหดตัวของของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยว
- อาการชักกระตุก : เนื่องจากได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แสง เสียง การสัมผัส
- อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า : เวลานอนจะมีส่วนศีรษะและแขนที่แตะที่นอน ขาทั้งสองข้าง
เหยียดตรง
-
Clostridium botulinum
Foodborne Botulism
สาเหตุ>> รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร
ที่มีการบรรจุไม่ได้มาตรฐาน เช่น อาหารกระป๋อง ผัก/ผลไม้กระป๋อง>> botulinum toxin
-
-
-
-
-
-
พบในทารกอายุ 6 สัปดาห์ – 6 เดือน
อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
-
Streptococcus
-
-
Streptococcus agalactiae
การก่อโรค >> พบเชื้อบริเวณ pharynx ทางเดินอาหาร ช่องคลอด
▪ 15-20% ของหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นพาหะของเชื้อนี้ และอาจถ่ายทอดไปยังเด็กแรกเกิด
-
-
-
-
-
Staphylococcus
Staphylococcus aureus
การก่อโรค
-
-
โพรงข้อต่อมีหนอง (pyoarthrosis) : หลังจากการท าศัลยกรรมกระดูก >> เกิดการติดเชื้อ
ระหว่างการฉีดสารบางชนิดเข้าไปในข้อต่อ
-
ล าไล้อักเสบ (enterocolitis) : คนไข้ในโรงพยาบาลที่ normal flora ในล าไส้ ถูกยับยั้งการเจริญด้วย antibiotic ที่ออกฤทธิ์กว้าง (broad spectrum antibiotics)
ช็อก (Toxic Shock Syndrome, TSS) : ในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
-
Mycobacterium
-
Mycobacterium leprae
การก่อโรค >> โรคเรื้อน (Leprosy หรือ Hansen's disease, HD)
-
-
-
Listeria monocytogenes
การก่อโรค >> Listeriosis
-
-
สาเหตุ>> สัมผัสสัตว์และอุจจาระของสัตว์ กินผักสดที่รดด้วยปุ๋ยคอก การดื่มนม
และเนยที่ไม่ผ่านการ pasteurization (62.8 oC เป็นเวลา 30 นาที)
Spirochetes
Treponema pallidum
การก่อโรค
โรคซิฟิลิส (Syphilis)
- ซิฟิลิสแต่ก าเนิด (Congenital syphilis) : มารดาติดเชื้อซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์(เชื้ออยู่ในกระแสเลือด >> ผ่านรก >> ทารกในครรภ์)
-
-
- ซิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired syphilis) : ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ >> เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังที่มีแผล รอยถลอก หรือเยื่อเมือกของอวัยวะสืบพันธุ์
-
-
-
Leptospira interrogans
โรคฉี่หนู
ระบาดมากที่สุดในช่วงฤดูฝนฝนจะชะล้างเอาเชื้อโรคต่างๆจากสภาพแวดล้อมไหลมารวมกันอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมขังซึ่งโรคนี้หนูเกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในปัสสาวะของสัตว์ที่เป็นพาหะเช่นหนูบุตรโคกระบือสุนัขและแคนโดยสัตว์ที่เป็นพาหะอาจไม่แสดงอาการ แต่มีการติดเชื้อที่พ่อโตทำให้มีการปล่อยเชื่อออกมากับปัสสาวะซึ่งเชื้อจะแฝงอยู่ในจุดที่น้ำท่วมขังตามดินโคลนแอ่งน้ำรองน้ำน้ำตกแม่น้ำลำคลองและสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานเป็นเดือนขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม
ผู้ที่ความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อโรคนี้หนู•ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ประสบอุทกภัยที่มีน้ำท่วมขัง•ผู้ที่ต้องทำงานในภาคเกษตร (ชาวนาชาวไร่เลี้ยงสัตว์เช่นคนงานบ่อปลา ฯลฯ •คนงานขุดลอกท่อระบายน้ำ * คนงานเหมืองแร่โรงฆ่าสัตว์รวมถึงผู้ที่ชอบเดินป่าท่องเที่ยวตามแม่น้ำทะเลสาบน้ำตา
- ระยะแรก (Leptospiremic phase) 4-7 วันแรกของการดำเนินไทยจะมีอาการไข้สูงแบบทันทีทันใดปวดศีรษะสับสนปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมากโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลังฟองและคนคนเราเรียนมีอาการตาแดงมักพบใน 3 วันแรกของไทยและเป็นอยู่ได้นานถึง 1 สัปดาห์ตาเหลืองตัวเมืองมีอาการคอแข็งความเห็นโลหิตต่ำได้ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงผื่นแดงต่อมน้ำเหลืองใดกับบ้านโฮ (อาจพบได้ แต่ไม่บ่อย)
•ระยะที่สอง (Immune phase) ผู้ป่วยจะเริ่มสร้างโปรตีนที่เฉพาะต่อเชื้อโรคฉีหนูโดยพบหลังจากเริ่มมีอาการใช้ประมาณ 1 สัปดาห์โดยจะมีช่วงที่ใช้ลงประมาณ 1-2 วันแล้วกลับใช้ในอีกในระยะนี้ผู้ป่วยมักมีอาการปวดศีรษะให้ต่ำ ๆ คลื่นไส้อาเจียนอาการรุนแรงน้อยกว่าอาการในช่วงแรกอาจพบอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบม่านตาอักเสบหน้าที่ของตับและไตผิดปกติระยะยาวกับเวลาได้นานถึง 30 วัน แต่อาการนี้ไม่ได้เกิดในผู้ป่วยทุกรายซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีสาเหลืองและกลุ่มที่ไม่มีตาเหลืองการป้องกันการติดป้องกันการเกิดโรคด้วยการหลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือสิ่งแวดล้อม
-
-