Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข - Coggle Diagram
การคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
1.ความเป็นมาของการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
พ.ศ. 2512 สหพันธ์องค์การผู้บริโภคระหว่างประเทศ (สนง.กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ ) ร่วมก่อต้ังแต่ไม่สำเร็จ
พ.ศ. 2514 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อศึกษาปัญหาของผู้บริโภค (กรรมการศึกษาและส่งเสริมผู้บริโภค)
พ.ศ. 2519 รัฐบาลต้ังคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค แต่คณะกรรมการชุดดังกล่าวได้สลายตัวตามวาระการเมือง (นายกรัฐมนตรีศึกฤทธิ์ ปราโมช)
พ.ศ. 2522 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีกฎหมายที่รองรับการ ปฏิบัติงาน คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 (นายกรัฐมนตรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์)
พ.ศ. 2522 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมี กฎหมายที่รองรับการปฏิบัติงาน คือ พระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้บริโภค พ.ศ. 2522 (นายกรัฐมนตรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์)
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2556
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562
2.นิยามศัพท์ท่ีเก่ียวข้องการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
ผู้บริโภค
ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวน
จากผู้ประกอบธุรกิจ
ผู้ประกอบธุรกิจ
ผู้ขาย ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้สั่งหรือนาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขายหรือผู้ซื้อเพื่อ ขายต่อซึ่งสินค้า หรือผู้ให้บริการ
ซื้อ
หมายความรวมถึง เช่า เช่าซื้อ หรือได้มา ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ
สินค้า
สิ่งของท่ีผลิตหรือมีไว้เพื่อขาย
ข้อความ
ตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง
เสียง เครื่องหมายหรือการกระทำอย่างใด ๆ ท่ีทำให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจความหมายได้
ฉลาก
รูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทำให้ปรากฏข้อความ เกี่ยวกับสินค้าซึ่งแสดงไว้ท่ีสินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้า
โฆษณา
หมายความถึงกระทาการไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็นหรือ
ทราบข้อความ
สื่อโฆษณา
สิ่งท่ีใช้เป็นส่ือในการโฆษณา เช่น หนังสือพิมพ์ ส่ิงพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ไปรษณีย์โทรเลข โทรศัพท์ หรือป้าย
หน่วยงานของรัฐที่ดูแลเรื่อง “การคุ้มครองบริโภค”
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ผู้บริโภค (สคบ.) ซึ่งสังกัดอยู่ในสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และในส่วนภูมิภาค 77 จังหวัด
การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศ มีกฎหมายที่ใช้บังคับ คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
3.การคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
“กลยุทธ์ในการดูแลคุ้มครองประชาชนให้ได้รับความปลอดภัยใน การบริโภคผลิตภัณฑ์ และการได้รับบริการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
และสุขภาพอนามัย รวมท้ังการพิทักษป์ระโยชนข์องประชาชน ผู้บริโภคมิให้ต้องถูกเอารัดเอาเปรียบ หรือตกอยู่ภายใต้การแสวงหา
ประโยชน์จากฝ่ายผู้ประกอบธุรกิจโดยไม่เป็นธรรม”
สิทธิของผู้บริโภคตาม พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสาธารณสุข
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสาธารณสุข
การใช้บริการสาธารณสุข
หน่วยงานที่ดูแล
กฎหมาย
หน่วยงานขององค์การวิชาชีพทางการแพทย์ต่างๆ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
หน่วยงานที่ดูแล
กฎหมายที่ควรรู้
ปัญหา
แนวโน้ม ปัญหา คุ้มครองผู้บริโภคทางสาธรณสุข
ด้านผู้บริโภค
ด้านผู้ประกอบการ
ด้านผลิตภัณฑ์
สถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ
ด้านผู้บริโภค
ด้านผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ประกอบโรคศิลปะ
ด้านสถานพยาบาลและการบริการ
ด้านรัฐ