Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิศาสตร์, นาย ศศิณ หมื่นโสฬส ม 6/1 เลขที่ 2 - Coggle Diagram
ภูมิศาสตร์
ภูมิอากาศ
เขตร้อน
ร้อนชื้น (แถบศูนย์สูตร)
ฝนตกตลอด
ป่าดงดิบ/ป่าดิบชื้น
ร้อนชื้นสลับแล้ง
ฝนตก 6 เดือน แล้ง 6 เดือน
ทุ้งหญ้าสวันนา
เขตทะเลทราย
ทะเลทราย
ทะเลทรายกลางทวีป
ความชื้นจากทะเลเข้ามาไม่ถึง
ทะเลทรายริมทวีป
อยู่ที่ละติจูด 20 ํ-30 ํ และอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของทวีป
ทู่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
ทุ่งหญ้าสเตปป์
เขตอากาศ
ความชื้น (ลมประจำ)
ลมค้า/ลมตะวันออก (0 ํ-30 ํN/S)
ลมตะวันตก (30 ํN/S-60 ํN/S)
ลมขั่วโลก (60 ํN/S-90 ํN/S)
ที่ตั้งตามละติจูด
เขตอบอุ่น (23.5 ํN/S-66.5 ํN/S)
เขตหนาว (66.5 ํN/S-90 ํN/S)
เขตร้อน (0 ํ-23.5 ํN/S)
เขตหนาว
ชื้นภาคพื้นทวีป
ป่าผสม (ต้นสนกับไม้ยืนต้น)
ไทกา (กึ่งทั่วโลก)
ป่าสน
อยู่ที่ละติจูด 60 ํ-70 ํ
เขตอบอุ่น
อบอุ่นชื้น
อยู่ที่ละติจูด 23.5 ํ-30 ํ และอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของทวีป
ความชื้นเกิดจากลมค้าพัด
ทูุงหญ้าแพรี่
ชื้นภาคพื้นชายฝั่งตะวันตก
อยู่ที่ละติจูด 30 ํ-60 ํ และอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของทวีป
ป่าผสม (ไม้ยืนต้นกับต้นสน)
เมดิเตอร์เรเนียน
อยู่ที่ละติจูด 30 ํ-40 ํ
ฝนตกเฉพาะฤดูหนาว
ไม้พุ่มสั้น ๆ ใบหนาม
เขตน้ำแข็ง
ทุนดรา
อยู่ที่ละติจูด 70 ํ-80 ํ
น้ำแข็งปกคลุมตลอดฤดูหนาว ละลายเมื่อฤดูร้อน
ทุ่งหญ้าอัลไพน์
ทุ่งน้ำแข็ง (ขั่วโลก)
อยู่ที่ละติจูด 80 ํ-90 ํ
ไม่มีพืชพันธุ์
เขตภูเขาสูง
ยิ่งสูงยิ่งหนาว
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่
องค์ประกอบ
ชื่อแผนที่
บอกชื่อของแผนที่
ทิศ
บอกทิศทางของแผนที่
ระวางแผนที่
บอกจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของของแผนที่
พิกัดภูมิศาสตร์
จุดตัดของเส้นละติจูดกับเส้นลองติจูด
มาตราส่วน
บอกระยะในแผนที่เทียบกับของจริง
สัญลักษณ์
บอกลายละเอียดของแผนที่แทนตัวหนังสือ
ประเภท
แผนที่เฉพาะเรื่อง
ไม่ได้บอกความสูงต่ำ
บอกเรื่องใด ๆ เรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
เช่น
บอกอณาเขตการปกครอง
ความหนาแน่นของประชากร
การนับถือศาสนา
แผนที่ภูมิประเทศหรือแผนที่อ้างอิง
บอกความสูงต่ำ
GIS (Geographic Information System)
แผนที่+ข้อมูลบางอย่างบนพื้นที่
ต้องเรียกใช้งานผ่านระบบคอมพิวเตอร์
ภาพถ่ายทางดาวเทียม
ภายที่ถ่ายโลกจากวงโคจรนอกโลกโดยใช้ดาวเทียม
ข้อเสีย
ไม่สามรถถ่ายภาพตำแหน่งเดิมเลยได้ทันที่ต้องรอให้ดาวเทียมโคจรกลับมา ณ ตำแหน่งเดิม
ข้อดี
สามารถถ่ายภาพทะลุชั้นเมฆได้
ภาพถ่ายทางอากาศ
ภาพที่ถ่ายทางอากาศโดยใช้เครื่องบินหรือโดรนลงมาภาคพื้น
ข้อดี
ค่าใช้จ่ายต่ำ
ข้อเสีย
ถ่ายในวันฟ้าปิดไม่ได้
GPS (Global Positioning System)
ระบบนำทางภาพดาวเทียม
ใช้ระบบดาวเทียมส่งสัญญาณ 3-4 ตัว
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ภาวะเรือนกรจก
ก๊าซเรือนกระจก
CO2 = 1
การใช้รถ โรงงานอุตสาหกรรม
CH4 = 21
ขยะ การปศุสัตว์
N2O = 310
ปุ๋ยไนโตรเจน
สภาวะโลกร้อน
ลานีญา
สภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น
เอลนีโญ
สภาพภูมิอากาศสลับขั่ว
การจัดการสิ่งแวดล้อม
การอนุรักษ์
ใช้ได้อย่างจำกัด
การสงวน
ห้ามใช้เลย
การฟื้นฟู/บูรณะ
หมดแล้วสร้างใหม่
สาเหตุ
การใช้เทคโนโลยีจำนวนมาก
การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว
การบริโภทเกินความจำเป็น
การเพิ่มขึ้นของประชากร
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
อนุสัญญาแรมซาร์
อนุรักษ์พื้นที่ลุ่มน้ำ
อนุสัญญาบาเซิล
จัดการขยะมีพิษ
UNFCCC
ไม่ให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเกิน 2 ํC
อนุสัญญาไซเตส
อนุรักษ์สัตว์
พิธีสารเกียวโต
ลดภาวะเรือนกระจก
Agenda21
ใช้อย่างยั้งยืน
อณุสัญญาเวียนนา/มอนทริออล
ลงสาร CFC
โอโซน
ทรัพยากรธรรมชาติ
น้ำ
แบ่งเป็น
น้ำเค็ม 97% (ทะเล)
น้ำจืด 3% (แม่น้ำ)
การเกิด
น้ำแข็งบนยอดเขาสูงละลาย
แหล่งน้ำธรรมชาติบนภูเขา (ป่าต้นน้ำ)
ฝนจากเขตร้อน
ป่าไท้และทุ่งหญ้า
ป่าไม้เขตร้อนแภบศูนย์สูตร
ป่าดงดิบ
ป่าไม้เขตอบอุ่น
ป่าพลัดใบ ป่าผสม (ไม้ยืนต้นกับต้นสน)
ป่าไม้เขตหนาว
ป่าสน
ทุ่งหญ้าสวันนา
มีต้นไม้หรือไม้พุ่มขึ้นสลับกระจาย
ทุ่งหญ้าสเตปป์
ทุ่งหญ้าสั้น ๆ กระจายกันเป็นหย่อม ๆ
ทุ่งหญ้าแพรี่
มีความอุดมสมบูรณ์มาก
เหมาะแก่การเพราะปลูกและเลี้ยงสัตว์
ทุ่งหญ้าอัลไพน์
เลี้ยงสัตว์ในเขตหนาว
ดิน
องค์ประกอบ
อากาศ 25%
อนินทรีย์วัตถุ 45%
น้ำ 25%
อินทรีย์วัตถุ 5%
ประเภท
ดินเขตร้อน
คุณภาพดีปานกลาง
ดินตะกอน
เกิดจากการทับถมของดินที่ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
คุณภาพดีกว่าดินเขตอบอุ่น
มีแร่ธาตุสูง
ดินเขตอบอุ่น
คุณภาพดีสุดใน 3 เขต
ดินเขตหนาว
คุณภาพแย่สุดใน 3 เขต
ดินภูเขาไฟ
มีแร่ธาตุสูงมาก
คุณภาพดีกว่าดินตะกอน
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิลักษณ์
ภูเขา
สูงกว่า 600 เมตร
แบ่งตามอายุ
ภูเขาหินยุคใหม่
ชันมาก
ยอดเขาสูง
เกิดภัยธรรมชาติได้
ภูเขาหินยุคเก่า
ยอดเขาไม่สูง
ไม่เกิดภัยธรรมชาติ
ไม่ชันมาก
แบ่งตามโครงสร้างทางธรณี
ภูเขาหินปูน
ภูเขาหินทรสย
ภูเขาหินแกรนิต
ที่ราบสูง
สูงกว่า 150 เมตร แต่ไม่ถึง 600 เมตร
แบ่งเป็น
ที่ราบสูงระหว่างภูเขา
มีภูเขาขนาบ 2 ด้าน
ที่ราบสูงเชิงเขา
มีภูเขา 1 ด้าน
อีกด้านเป็นที่ราบ
ที่ราบสูงทวีปหรือที่ราบสูงรูปโต๊ะ
มีที่ราบล้อมรอบ
พื้นดินยกตัวขึ้น
ที่ราบ
สูงไม่เกิน 150 เมตร
แบ่งเป็น
ที่ราบน้ำท่วมถึง
ช่วงเวลาฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วม
ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
น้ำไหล่ผ่านที่ราบ
ระยะทางไกล
ไหล่ลงอ่าว/ทะเล
ตะกอนดินทับถม
ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ติดกับแม่น้ำ
ทะเลสาบ
พื้นน้ำที่ล้อมรอบด้วยแผ่นดิน
ประกอบด้วย
ทะเลสาบน้ำจืด
อยู่ในเขตแห้งแล้ง ฝนตกน้อย
ทะเลสาบน้ำเค็ม
อยู่ในเขตสูงศูนย์สูตร เขตหนาว
ภูเขาสูง (หิมะละลาย)
เกาะ
แผ่นดินที่ล้อมรอบด้วยน้ำ
แบ่งเป็น
เกาะริมทวีป
อยู่ใกล้ชายฝั่ง
แนวน้ำตื่น
ขนาดใหญ่
เกาะกลางมหาสมุทร
ขนาดเล็ก
ห่างจากชายฝั่ง
อยู่ในเขตน้ำลึก
ทับถมจากลาวา/ปะการัง
ชายฝั่ง
พื้นน้ำในมหาสมุทรจรดกับพื้นทวีป
แบ่งเป็น
ชายฝั่งแบบยุบตัว/ยุบจม
หน้าผา/ภูเขาชายฝั่ง
น้ำลึก
ที่ราบชายฝั่งน้อย
ชายฝั่งแบบยกตัว
มีชายหาด
น้ำตื้น
ที่ราบชายฝั่งมาก
ชายฝั่งแบบฟยอร์ด
ธารน้ำแข็งกัดเซาะ
เขตชายฝั่งมีภูเขา
อ่าวลึกแคบ
เกิดจากการผันแปรของเปลือกโลก
พลังงานภายในโลก
การทรุดตัว
การยกตัว
การบีบตัว
พลังงานภายนอกโลก
การกัดเซาะ
การพัดพา
การทับถม
นาย ศศิณ หมื่นโสฬส ม 6/1 เลขที่ 2