Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ยาระบบภูมิคุ้มกัน
-
-
- ระบบภูมิคุ้มกันแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ภูมิคุ้มกันแต่กําเนิด และ ภูมิคุ้มกัน
ชนิดรับมา
- ยาหรือสารที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน เรียกว่า Immunomodulators ซึ่งอาจมีผลไปลด
(suppress) หรือเพิ่ม (stimulant) การทํางานของระบบภูมิคุ้มกัน
- การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นการรักษาผู้ป่วยที่มีการเสื่อมของอวัยวะ ทําให้ผู้ป่วยมีชีวิตที่ยืน
ยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- การปลูกถ่ายอวัยวะที่มีการทําในประเทศไทย ได้แก่ ปลูกถ่ายตับ ไต หัวใจ ปอด ตับอ่อน
- ปัจจัยหนึ่งที่สําคัญทําให้อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยและอวัยวะสูงขึ้น คือ ความร่วมมือ
ของผู้ป่วยในการรับประทานยากดภูมิคุ้มกัน ซึ่งต้องรับประทานไปตลอดชีวิต
- • ยากดภูมิคุ้มกันในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะจะใช้ร่วมกัน 2 ถึง 3 ชนิด ที่มีกลไกแตกต่างกัน โดยระยะแรกหลังปลูกถ่ายอวัยวะจะใช้ยากดภูมิคุ้มกันในขนาดสูง จากนั้นจะลดขนาดยา
ลงเรื่อยๆ ให้เหลือในขนาดต่ำสุดเท่าที่จะกดภูมิคุ้มกันไม่ให้เกิดภาวะปฏิเสธอวัยวะได้
- ยากดภูมิที่นิยมใช้ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายอวัยวะเนื่องจากมีประสิทธิภาพที่ดีในการป้องกัน ภาวะปฏิเสธอวัยวะ ได้แก่Tacrolimus ร่วมกับ Mycophenolate mofetil และ Prednisolone
- ยากดภูมิขนาดที่สูงเกินไปจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อรวมถึงเกิดพิษจากการใช้ยา ส่วน
ยากดภูมิขนาดที่ต่ําเกินไปจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการต่อต้านอวัยวะ
- การดูแลผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายอวัยวะเป็นการดูแลร่วมกันเป็นสหสาขาวิชาชีพ เพื่อให้ผู้ป่วยมี
อัตราการรอดชีวิต อัตราการรอดของอวัยวะ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ระบบภูมิคุ้มกันพื้นฐานของร่างกาย
- ระบบภูมิคุ้มกันแต่กําเนิด (Innate immunity)
- ถูกกระตุ้นเมื่อได้รับสิ่งแปลกปลอม
อย่างเฉพาะเจาะจง
- มีความจําเพาะเจาะจงสูงกว่า
- ประกอบไปด้วย
Humoral immune response (HIR) : B lymphocyte, Memory B lymphocyte, plasma cell and antibody
Cell mediate immune response (CMIR) :
Effector T cell
Regulatory T cell (Treg)
Memory T cell
- ระบบภูมิคุ้มกันชนิดรับมา (Adaptive immunity)
- ตอบสนองช้ากว่า
- มีความจําเพาะเจาะจงสูง
- มีการปรับตัวเพื่อให้ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอม อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีการจดจําหลังจากทําลายสิ่งแปลกปลอมไปแล้ว
- T-Cell, B-Cell, Antibody