Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PROM(Premature rupture of membranes) - Coggle Diagram
PROM(Premature rupture of membranes)
ความหมาย
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วที่เกิดขึ้นเอง(spontaneous)ก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์คลอดโดยไม่จำกัดเวลาหรืออายุครรภ์บางตำราเรียกว่าprelabor rupture of membranes เพื่อเน้นว่าเป็นภาวะที่เกิดก่อนมีอาการเจ็บครรภ์ถ้าถุงน้ำคร่ำแตกก่อนครรภ์ครบกำหนด(preterm)เรียกว่าpreterm PROM (PPROM)หรือเรียกว่าpreterm prelabor rupture of membranes
การวินิจฉัย
1.ประวัติเป็นสิ่งสำคัญมากที่สุดอาศัยจากประวัติว่ามีน้ำไหลออกจากช่องคลอดและไหลออกมาเรื่อยๆน้ำมีลักษณะคล้ายปัสสาวะแต่กลั้นไม่ได้ทั้งนี้ต้องแยกจากมูกเลือด ช่องคลอดอักเสบ การเพิ่มน้ำคัดหลั่งในช่องคลอดขณะตั้งครรภ์ และการกั้ปัสสาวะไม่ได้
2.การตรวจร่างกาย ก่อนทำการตรวจภายในควรสังเกตภายในควรสังเกตดูบริเวณปากช่องคลอดว่ามีลักษณะเปียกชื้นมากน้อยเพียงใด สีของน้ำที่เห็นบริเวณปากช่องคลอดเป็นอย่างไร แล้วจึงใส่เครื่องมือแพทย์ที่ใช้เปิดขยายช่องคลอด(Speculum)เข้าไปพร้อมกับสังเกตลักษณะและปริมาณของเหลวภายในช่องคลอด โดยทั่วไปหากถุงน้ำคร่ำแตกจริงจะพบน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลูก ในกรณีตรวจไม่พบของเหลวภายในช่องคลอดที่ชัดเจน ควรให้ผู้คลอดไอหรือออกแรงเบ่งพร้อมกับผู้ช่วยใช้มือกดบริเวณยอดมดลูก อาจพบว่ามีน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลูก ถ้าปากมดลูกเปิดแล้วจะพบส่นนำของทารกไม่มีถุงน้ำคร่ำหุ้มแล้ว โดยปกติจะเลี่ยงการตรวจภายในด้วยนิ้วมือหรือแม้แต่ทวารหนัก ยกเว้นกรณีถุงน้ำคร่ำแตกเมื่อครบกำหนด หรือผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว หรือเมื่อจะชักนำให้คลอดเท่านั้น การตรวจพบน้ำไหลออกจากคอมดลูกเป็นการวินิจฉัยที่แน่นอนที่สุด ในกรณีที่น้ำคร่ำในช่องคลอดน้อยเกินไปก็อาจมองไม่เห็น ต้องใช้การตรวจอย่างอื่นช่วยในการวินิจฉัย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การทดสอบด้วยกระดาษไนทราซีน ใช้ทดสอบการเป็นกรดเป็นด่างโดยนำกระดาษไนทราซีนสัมผัสกับสารคัดหลั่งในช่องคลอดจะมีการเปลี่ยนสี สารคัดหลั่งในช่องคลอดจะเป็นกรด มีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง4.5-5.5 ส่วนน้ำคร่ำเป็นด่างจะมีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง 7.0-7.5 จะเปลี่ยนสีกระดาษไนทราซีนจากสีเหลืองเป็นสีน้ำเงินเข้ม ถ้ากระดาษไนทราซีนไม่มีการเปลียนสี แสดงว่าไม่น่าเกิดภาวะถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่ว การทดสอบนี้ให้ผลบวกลวงได้ในกรณีที่มีเลือดปน หรือมีน้ำอสุจิ หรือยาฆ่าเชื้อ สบู่ หรือสารละลายฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์เป็นด่าง รวมทั้งกรณีช่องคลอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย ผลลบลวงอาจเกิดขึ้นจากกรณีที่มีถุงน้ำคร่ำแตกมานาน และมีน้ำคร่ำเหลือในโพรงมดลูกน้อยมาก
3.2 การตรวจผลึกรูปใบเฟิร์น(Fern test หรือ aborization)วิธีทดสอบโดยการเก็บตัวอย่างน้้ำบริเวณช่องคลอดด้านล่างของปากมดลูกโดยใช้ไม้พันสำลีป้ายลงบนแผ่นสไลดืแล้วทิ้งไว้จนแห้งในอากาศ(ภายในเวลา 5-7นาที)แล้วตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ เป็นการตรวจดูผลึก(crystallization)ของเกลือโซเดียมคลอไรด์(NaCl)ที่อยู่ในน้ำคร่ำซึ่งจะตกผลึกเป็นรูปด่างคล้ายใบเฟิร์น โยสามารถตรวจวิธีนี้ได้ตั้งแต่อายุครรภื12 สัปดาห์ขึ้นไป การทดสอบนี้จะให้ผลบวกลวงได้ถ้านำเอามูกจากปากมดลูกมาตรวจ โดยจะมีลัการธเป็นรูปใบเฟิร์นเช่นกัน แต่จะมีขนาดใหญ่กว่าและมีปริมาณมากกว่ารูปใบเฟิรืนที่เกิดในน้ำคร่ำ ดังนั้น ถ้าต้องการให้การทดสอบนี้แม่นยำขึ้นควรจำนำน้ำในช่องคลอดที่ห่างจากปากมดลุกประมาณ 3 เซนติเมตร เพื่อหลีกเลี่ยงการนำน้ำเมือกปากมดลุกมาตรวจได้ แม้ว่าถุงน้ำคร่ำแตกนานเกินกว่า 48 ชั่วดมง การทดสอบนี้ก็ยังให้ผลบวกได้ส่วนผลบลลวงอาจจะพบในกรณีที่มีเลือดหรือขี้เทาปนเปื้อน ซึ่งจะทำให้ลักษณะเกล็ดเฟิร์นไม่สวยมีรูปร่างผิดปกติไป
3.3 การทดสอบโดยการย้อมเซลล์ที่ได้จากการแตกของถุงน้ำคร่ำ (nile blue test สามารถตรวจเซลล์จากต่อมไขมันของทารกในน้ำคร่ำเมื่อทารกอายุครรภ์ตั้งแต่ 32 สัปดาห์ขึ้นไป โดยใช้ไนล์บลูซัลเฟต (nile blue sulphate) วิธีการตรวจโดยนำน้ำจากช่องคลอด 1 หยด ผสมกับ 0.1 % nile blue sulphate 1 หยดบนสไลด์ ปิดด้วยกระจกบาง (cover glass) นำไปลนไฟเล็กน้อย เพื่อให้ติดสีดีขึ้น แล้วดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะพบเซลล์ไขมันของทารกติดสีแสด ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่เห็นอาจพบเป็นเซลล์เดียวหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ส่วนเซลล์อื่น ๆ เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือด ขาว หรือเซลล์บุผนังช่องคลอดจะติดสีน้ำเงิน การตรวจวิธีนี้ให้ผลแน่นอนมาก ไม่มีการให้ผลบวก ลวง แต่อาจให้ผลลบลวงได้หากอายุครรภ์น้อยกว่า 36 สัปดาห์ เนื่องจากเซลล์ไขมันทารกจะพบ น้อยกว่าร้อยละ 10 หากอายุครรภ์ต่ำกว่า 36 สัปดาห์ หรือมีน้ำเดินมานานก่อนได้รับการตรวจ ด้วยเหตุผลดังกล่าวการตรวจวิธีนี้จึงไม่เป็นที่นิยมกัน
การตรวจหาสารไฟโบรเนกทิน (tibronectin) ตรวจพบได้ในเลือดและน้ำคร่ำของผู้คลอด โดยปกติแล้วหลังอายุครรภ์ 22 สัปดาห์จะไม่สามารถตรวจพบได้ นอกจากจะเริ่มเจ็บครรภ์คลอด หรือน้ำเดิน การตรวจนี้ทำได้โดยเก็บมูกที่ปากมดลูกหรือในช่องคลอด ต้องระวังการปนเปื้อนของ น้ำคร่ำและเลือดของผู้คลอดในช่องคลอดโดยใช้ enzyme linked immunosorbent assay (ELISA) ถ้ามากกว่า 50 ng/d! ถือว่าผลบวก นับเป็นการตรวจชนิดหนึ่งในการบอกถึงภาวะการเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด
การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (utrasound) การตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง อาจช่วยเหลือได้บ้าง เป็นการตรวจหาปริมาณน้ำในฤงน้ำคร่ำ ในรายที่ตรวจพบว่ามีปริมาณน้ำคร่ำ น้อยแสดงว่าน่าจะมีน้ำเดินจริง อย่างไรก็ดี ในรายที่น้ำคร่ำน้อยหรือไม่มีเลยนั้น อาจเนื่องมาจาก การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยเองก็ได้ แต่การตรวจวิธีนี้สามารถตรวจหาสภาวะต่าง "ๆ ของทารกใน ครรภ์ได้ และเป็นเครื่องช่วยชี้แนะและวางแผนเพื่อการรักษาต่อไป
มารดาให้ประวัติมีน้ำเดินใส ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด ไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดจึงมาโรงพยาบาลเซกา แรกรับเวลา 16.30 น.V/S BT 36.6ºC PR 100/min RR 20/min BP 128/80/min ตรวจร่างกายAbdomen NST reactive basline 160 variability moderate. no contration TAS(transabdominal ultrasound) EFW(Estimated fetal weight ) 1631 g. Fern test positive.no retropacental blood clot.การวินิจฉัยขั้นต้น Preterm Premature rupture of membrane
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ติดเชื้อในโพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ ติดเชื้อที่โพรงมดลูกหลังคลอด ติดเชื้อในกระแสโลหิต ภาวะโลหิตเป็นพิษ
ในCase นี้มารดามีการติเชื้อผลLAB WBC=13.96 LYM=15.5 MOnocytes=6.7เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นเม็ดเลือดขาวชนิดMacrophageของเยื่อAmnionและChorionจะออกมาจับกินเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น
ไฮดดรไลต์ของโปรตีนในเนื้อเยื่อหุ้มเด็กถูกไฮโดรไลต์โปรตีนออกมากขึ้น
ผนังเยื่อหุ้มเด็กอ่อนแอลง
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
เกิดกระบวนการสลายโปรตีนProteolysis
Collagenที่เยื่อหุ้มแรกระหว่างAmnionและChorionลดลงความแข็งแรงในการยืดหยุ่นความตึงตัวลดลงเกิดถุงน้ำเปราะแตกง่าย
ถุงน้ำคร่ำรั่วติดเชื้อขณะตั้งขณะติดเชื้อที่ปากมดลุกหรือช่องคลอดgroup B step ทำให้PhospolipaseA2มีแอคตี้เวทขึ้นมีการสังเคราะห์Prostaglandinออกมา
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
Ampicillin 2gm.vein q 6 hr. Amoxicilin1
3oral po
7day.Azithromycin(250)2tab po stat then 1 tab po hs*7day
ทารก
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์เพิ่มอัตราการเกิดภาวะต่อไปนี้ ได้แก่ การติดเชื้อใน กระแสเลือด กลุ่มอาการผิดปกติต่าง ๆ ของทารก (fetal deformation syndromes) ภาวะขาด ออกซิเจน (asphyxia) จากการที่สายสะดื่อถูกกดเนื่องจากน้ำคร่ำน้อย สายสะดือย้อย (Iprolapsed cord) พบได้มากในรายที่ศีรษะทารกมีขนาดเล็ก การคลอดก่อนกำหนด ทารกมีปัญหาเรื่องปอด เจริญเติบโตไม่เต็มที่ ภาวะเลือดออกในสมอง intacranial hemorthagel ลำไส้เกิดเนื้อตาย hectio tizing enterocolitis) สมองพิการ (cerebral palsy) ภาวะปอดของทารกแฟบ (pulmonany hypoplasial มีผลทำให้ทารกเสียชีวิตภายหลังคลอดได้ สำหรับภาวะปอดของทารกแฟบนั้นมีโอกาสเถิดได้ถ้า หากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนอายุครรภ์ครบ 24 สัปดาห์ หลัง 24 สัปดาห์ ทารกมีโอกาสเกิดภาวะ ดังกล่าวน้อย (Goldenberg, 2002)
อาการและอาการแสดง
มีน้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอดโดยไม่มีอาการเจ็บครรภืหรือก่อนที่จะมีอาการเจ็บครรภือาจไหลซึมตลอดเวลาหรือไหลแล้วหยุดไป
ในCaseเวลา 15.00 น.วันที่ 12 มกราคม 2565 มารดาให้ประวัติมีน้ำเดินใส ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด ไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดจึงมาโรงพยาบาลเซกา
การรักษา
1.งดน้ำและอาหารทางปาก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยใช้เข็มขนาดใหญ่พอที่จะให้เลือดได้
ตรวจติดตามการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด โดยอาจใช้ เครื่อง cardiotocography
เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟังอัตราการเต้นของ หัวใจทารกและประเมินความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
เฝ้าระวังสัญญาณชีพและอาการทั่วไปของมารดาอย่างใกล้ชิด
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้สารน้ำ 0.9%Nacl 1000 ml IV 80 ml/hr.Adalat 1 tab PO q 12 hr.with stat.Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr.×4 doses เริ่มให้ 12/1/65 เวลา 16.43 น.keep BP>90/60 mmHg.Odserve Uc.Record V/S,IO Regular diet NPO ระหว่างมื้อ+เว้นยา ให้ยาAmpicillin 2 g IV q 6 hr.stat 12/1/65 เวลา 16.50 น.Azithomycin (250) 2 tab PO stat then 1 tab PO hs×7 day.
ทารก
ทารกเกิดจากมารดาG2P1A0L1 GA31+6wks.PROM4วัน BW=1795g.APGAR 9-9-9
ทารกถ่ายขี้เทาออกมาเป็นThick meconium
เกิดการสูดสำลักขี้เทา
ปอดอักเสบจากปัจจัยทางเคมี
ออกซิเจนลดลง คาร์บอนไดออกไซค์เพิ่มขึ้น
ภาวะกรดในเลือด
เกิดแรงต้านในระบบไหลเวียน(Right to Left)
ออกซิเจนลดลง
การเผาผลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจน
1 more item...
สร้างสารลดแรงตึงผิวลดลง
แรงตึงผิวมากขึ้น
ความสมบูรณ์ของปอดลดลง
การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ได้รับยาDexamethasone 1mg vein stat then q 8 hr.
ทางเดินหายใจอุดกั้น
ถุงลมโป่งมากขึ้น
ถุงลมแตก
ลมรั่วออกนอกปอด
ลมออกมาอยู่ในเยื่อหุ้มปอด
การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ปอดแฟบ
การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
อาการและอาการแสดงภาวะRespiratory Distress Syndrome
พบได้ทันทีหลังเกิดจะแสดงอาการรุนแรงในช่วง48-72ชั่วโมงหลังเกิด ทารกมีอาการหายใจเร็วอัตราการหายใจมากกว่า60ครั้ง/นาที พบการดึงรั้งของระหว่างซี่โครง(lntercostal retraction)หรือใต้ซี่โครง(subcostal retraction) มีภาวะหยุดหายใจ(Apnea) อาการเขียว(Cyanosis) หายใจออกมีเสียงดัง(Expiratory grunting)
ในCase นี้นาทีที่7ทารกหายใจมีSubcostal retraction RR=62-66ครั้ง/นาที
On ETT no3/8 เตรียมย้าย NICU
admit NICU. เวลา 10.00 น. on Incubater on ETT No.3 depth 8 cm on CMV mode IP 24 PEEP 5 RR 50 Ti 0.3 Fio2 0.6 Keep SpO2 90-95%
On ETT no 3/8.On ETT 3วัน อาการดีขึ้นหายใจดีขึ้น RR 40-48ครั้ง/นาที
On nasal prong SIMV mode PS.10 PIP12 PEEP 5 FiO2 0.21 RR 40 Ti 0.3
On nasal prong 2day off เป็น room air Spo2 96-99% RR 40-46 ครั้ง/นาที
ติดเชื้อแบบEOS
Early-onset sepsis
หมายถึง การติดเชื้อในกระแสเลือดของทารกแรกเกิดภายในอายุ 72ชั่วโมงซึ่งอาจมีสาเหตุจากเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา หรือเชื้อไวรัส
ส่วนพยาธิกำเนิดของ EOS ในทารกเกิดก่อนกำหนดนั้นซับซ้อน ส่วนใหญ่มักเริ่มต้นจากการติดเชื้อใน โพรงมดลูก (amniotic infection syndrome)ซึ่งต่อมากระตุ้นให้ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์หรือมารดาเจ็บ ครรภ์คลอดก่อนกำหนด แสดงว่า ในทารกเกิดก่อนกำหนด EOS เกิดขึ้นก่อนมารดาเข้าสู่ระยะคลอด โดยเชื้อ แบคทีเรียที่ตรวจพบในโพรงมดลูก ได้แก่ Ureaplasma, anaerobic bacteria, E. coliและ GBS
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด EOS
ปัจจัยเสี่ยงทางคลินิกต่อการเกิด EOS ในทารกเกิดก่อนกำหนดอายุครรภ์ ≤34 สัปดาห์ ได้แก่ อายุครรภ์ น้ำหนักแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ ถุงน้ำคร่ำแตกน่านกว่า 18 ชั่วโมง การเจ็บครรภ์คลอดก่อน กำหนด อายุและเชื้อชาติของมารดา ไข้ของมารดาในช่วงคลอด วิธีการคลอด การได้รับยาปฏิชีวนะระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด แนะนำให้ยาปฏิชีวนะระหว่างการเจ็บครรภ์คลอดแก่มารดา ในกรณีที่มารดามีไข้และเข้าเกณฑ์ การวินิจฉัยตามตารางที่1 ซึ่งถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในการเกิด EOS ในทารกเกิดก่อนกำหนด ตารางที่ 1 เกณฑ์การวินิจฉัย isolated maternal fever และ Triple I
ในCaseนี้เกิดจากมารดาถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บคร่ำ4 วันและมารดาได้รับยาปฏิชีวนะ น้ำหนักทารกแรกเกิด1795กรัม
ทารกน้ำหน้อยรักษาโดยให้สารน้ำ TPN 120ml IV rate 5.9 ml/hr.
แนวทางการประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด EOS เพื่อให้การรักษาทารกที่อาจมีหรือมีภาวะ EOS
ทารกเกิดก่อนกำหนดอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ≤34 สัปดาห์
กลุ่มความเสี่ยงต่ำ
มีข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์ในการให้คลอด เช่น maternal preeclampsia ภาวะรกเสื่อม มารดาที่มี ความเจ็บป่วยที่ไม่ใช่การติดเชื้อ เกิดโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (cesarean section) มารดาไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอด มารดาไม่ได้รับการเร่งคลอด หรือไม่มี PROM ก่อนทารกเกิด ทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการเกิด EOS ดังกล่าวข้างต้น หากมีอาการผิดปกติที่อธิบายได้จากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การติดเชื้อ อาจไม่จำเป็นต้องได้รับการตรวจเพิ่มเติมของห้องปฏิบัติการ ไม่จำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะหรือาจทำเพียงเพาะเชื้อในเลือด และติดตามอาการของทารกเป็นระยะๆ แต่หากทารกมีอาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการเข้าขั้นวิกฤต พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะได้
กลุ่มความเสี่ยงสูง
ทารกเกิดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด EOS หากทารกเกิดจาก มารดาที่มีภาวะ cervical incompetence เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ภาวะการอักเสบหรือติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ ทารกในครรภ์มีภาวะ non-reassuring fetal status ที่ไม่สามารถอธิบายได้จาก สาเหตุอื่นๆในทารกกลุ่มนี้ต้องส่งเพาะเชื้อในเลือดและให้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งควรส่งตรวจน้ำไขสันหลังด้วยหากมี ข้อบ่งชี้
ในCASE นี้ทารกเกิดจากมารดา G2P1 P1 A0 L1 GA 31+6 weeksวินิจฉัยขั้นต้น Preterm Premature rupture of membrane 4 day ผลLAB ของทารก WBC13.1 Monocyte 18.9
การรักษาภาวะ EOS ในทารกแรกเกิด
แนะนำให้ใช้ยาampicillin และ gentamicin เป็นยาปฏิชีวนะซึ่งครอบคลุมเชื้อ GBS, E.coli, Streptococcal และ Enterococcal species รวมทั้ง L. monocytogenes แต่ปัจจุบันพบเชื้อแบคทีเรียกรัมลบดื้อ ยาที่สร้างเอนไซม์extended-spectrum -lactamase (ESBL) ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง E.coli ดังนั้นหากทารกมี อาการวิกฤต หรือในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด EOS จากแบคทีเรียกรัมลบ (กรณีถุงน้ำ คร่ำ แตกนานหรือมารดาได้รับยาปฏิชีวนะเป็นเวลานาน) อาจจำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อกลุ่มนี้ได้มาก ขึ้น เช่น amikacin, piperacillin/tazobactam เมื่อได้ผลเพาะเชื้อ ให้เปลี่ยนยาปฏิชีวนะที่จำเพาะต่อเชื้อและออก ฤทธิ์ครอบคลุม เชื้อได้แคบลง ระยะเวลาในการให้ยาปฏิชีวนะขึ้นกับชนิดของเชื้อและตำแหน่งของการติดเชื้อ โดย ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำใน The AAP Red Book: Report of the Committee on Infectious Diseases กรณีที่ผล เพาะเชื้อในเลือดให้ผลลบ และอาการของทารกสามารถอธิบายได้จากสาเหตุอื่น ให้พิจารณาหยุดยาปฏิชีวนะ ภายใน 36-48 ชั่วโมง
ในCaseนี้รักษาโดย Ampicillin(100mg/kg/dose)180mg IV q 12 hr.with stat. Gentamicin(4.5mg/kg/dose)7.0mg IV q 36 hr.with stat
ทารกเกิดจากมารดาG2P1A0L1 GA31+6wks.PROM4วัน BW=1795g.APGAR 9-9-9
การสะสมไกลโคเจนและไขมันสะสมในร่างกาย
ปริมาณFree fattyacidsน้อยและเกิดOxidize ketonesลดลง
กระบวนการสร้างกลูโคสเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์
ระดับกลูโคสในเลือดลดลง
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)
แรกคลอดLR เจาะDTX. 48 mg% (Keep 60-100 mg%)
แผนการรักษา 10%DW 5ml IV push. 10%DW 500ml+10%CagluconateIV4.8ml/hr. Keep DTX 60-100mg%