Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Reproductive system : Male Reproductive System ระบบสืบพันธุ์เพศชาย,…
Reproductive system :
Male Reproductive System
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
อวัยวสืบพันธ์ุภายนอก ได้แก่
- ถุงอัณฑะ (Scortum)
ห่อหุ้มอัณฑะ
อยู่นอกร่างกายทำให้อุณหภูมิเย็นกว่าในร่างกาย เหมาะแก่การเจริญของอสุจิ
- อัณฑะ(Testis)
ต่อมรูปไข่มี 2 ต่อม
ทำหน้าที่สร้างอสุจิ
หากมี 1 ต่อม ถือว่าผิดปกติอาจทำให้ลักษณะทางเพศไม่สมบูรณ์ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ไม่เพียงพอ หากต้องการมีลูกต้องใช้วิทยากรทางการแพทย์ช่วย
ผลิตฮอร์โมนควบคุมลักษณะต่างๆ เช่น หนวดเครา เสียง
- องคชาต (Penis)
ทำหน้าที่ส่งเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย ผ่านปากมดลูกเพศหญิงเข้าไปเพื่อผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง และยังเป็นท่อปัสสาวะ
คล้ายฟองน้ำ มีหลอดเลือดกระจายอยู่
จะเกิดการแข็งตัวเมื่อมีอารมณ์ทางเพศ เพื่อใช้ในการร่วมเพศ
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ได้แก่
- หลอดสร้างตัวอสุจิ (Seminiferous tubule)
เป็นหลอดเล็กๆขดไปมาในอัณฑะ
ทำหน้าที่ สร้างตัวอสุจิ ปกติจะมีต่อมละ 800 หลอด
- หลอดเก็บตัวอสุจิ (Epididymis)
อยู่ด้านบนอัณฑะ
เป็นท่อเล็กๆขดไปมาเพื่อเก็บและพักตัวอสุจิให้เติบโต
- หลอดนำอสุจิ (Vas Deferens)
ต่อกับหลอดอสุจิ
ทำหน้าที่ลำเลียงอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่มสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ
- ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ (Seminal Vesicle)
ทำหน้าที่สร้างอาหารสำหรับอสุจิ เนื่องจากเซลล์นี้ไม่ได้รับสารอาหารจากเลือดเหมือนเซลล์อวัยวะอื่น
สารอาหารของอสุจิประกอบไปด้วย น้ำตาลฟรักโทส
- ต่อมลูกหมาก (Prostate Gland)
อยู่ตอนต้นของท่อปัสสาวะ หลั่งสารที่มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆออกมา
ปัสสาวะมีฤทธิ์เป็นกรด ท่อปัสสาวะเป็นทางร่วมในการส่งอุจิผ่านองคชาตไปยังมดลูกจึงมีฤทธิ์เป็นกรดด้วย
เป็นสภาะไม่เหมาะสมกับอสุจิ จึงต้องปรับสภาพท่อปัสสาวะก่อนจะมีการปล่อยอสุจิ
- ต่อมคาวเปอร์ (Cowper’s Gland)
อยู่ติดกับต่อมลูกหมาก
ทำหน้าที่หลั่งสารหล่อลื่นซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่างเพื่อลดช่วยลดความเป็นกรดภายในท่อปัสสาวะและช่องคลอดเพศหญิงขณะมีเพศสัมพันธ์
- อสุจิ (Sperm)
เป็นส่วนหนึ่งของระบบสืบพันธุ์ที่สำคัญที่สุด
ถูกสร้างในร่างกายของเด็กชายเมื่ออายุ12-13 ปี และสร้างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต
ประกอบไปด้วย
3 ส่วน คือ
2.ส่วนตัว
•มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว
3.ส่วนหาง
•ทำหน้าที่เสมือนใบพัด เพื่อว่ายไปในสารหล่อลื่นและเพื่อไปปฏิสนธิ
1.ส่วนหัว
•เป็นส่วนที่มีนิวเคลียสของเซลล์อยู่
•เป็นส่วนที่มีหน่วยพันธุกรรมซึ่งจะถูกนำไปผสมกับไข่เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
•เกิดการปฏิสนธิ
มีอายุประมาณ 2-3 ชั่วโมนอกร่างกายและ24-48 ชั่วโมง ภายในร่างกายผู้หญิง
ฮอร์โมนเพศชาย
Testosterone
มีขนขึ้นตามร่างกาย
การสร้างเชื้ออสุจิ
มีความต้องการทางเพศ
กล้ามเนื้อและกระดูกแข็งแรง
มีความคิดเชิงบวก
ช่วยให้มีสมาธิและการจำ
อัณฑะสามารถผลิตestrogen ได้ใน Sertoli cell ภายใต้การควบคุมของ LH
ฮอร์โมนที่ทำให้เป็นหนุ่ม คือ
ส่วนของอัณฑะเป็นต่อมไร้ท่อทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเพศชายคือ Leydig cellอยู่ในเนื้อเยื่อแทรกระหว่าง seminiferous tubule ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเทอโรน
และอีสโทรเจนในจำนวนน้อย
การสร้างอสุจิ
: ฮอร์โมนที่ควบคุมการสร้างอสุจิ
ระยะเริ่มต้นอาศัยทั้งTestosterone และ FSH
ในผู้ใหญ่อาศัยเพียง Testosterone
: Sertoli cells
สร้าง AMH ทำให้ Müllerian duct ในเพศชายฝ่อ
สร้างและหลั่ง ceruloplasmin และ transferin ช่วยขนส่งcopper,iron สารจำเป็นต่อการสร้างอสุจิ
เปลี่ยน androgen เป็น estrogen
สร้าง androgen-binding protein เพื่อจับกับ androgen
สร้าง inhibin เพื่อควยคุมการหลั่ง FSH
: ขั้นตอนการสร้างอสุจิ
เกิดขึ้นใน seminiferous tubule ของอัณฑะที่เจริญแล้ว
เซลล์ต้นคือ Spermatogonium แบ่งตัวแบบ mitosis ได้ primary spermatocytes 2n
เมื่อแบ่งตัวแบบ mitosis ได้ secondary spermatocytes 2ตัว แต่ละตัวเหลือ n
secondary spermatocytes แบ่งแบบ meiosis ครั้งที่ 2 ตามด้วย mitosis ได้เป็น spermatids 4ตัว แต่ละตัว มีจำนวน n
ขณะมีการแบ่งเซลล์ไซโตพลาสซึมของเซลล์ทั้งหมดจะยังติดอยู่เรียก Cytoplasmic bridge
spermatids พัฒนาเป็นอสุจิด้วยขบวนการ spermiogenesis เปลี่ยนนิวเคลียส ไซโตพลาสซึม คือนิวเคลียสเล็กลง Golgi apparatus เปลี่ยนเป็น acrosome อยู่ที่หัวละ centrioleเจริญเป็นหาง
ในคนกระบวนการสร้างอสุจิจะใช้เวลา 64วัน
: น้ำอสุจิ(Semen)
เป็นของเหลวที่ขับออกเมื่อถูกเร้า ประกอบด้วย sperm แะ seminal plasma
-หลั่องออกมาจากepididymis, vas deferens, seminal vesicles, prostate และต่อมเมือกต่างๆ
Semen มีฤทธิ์เป็นด่าง (pH7.5-7.8)ช่วยลดความเป็นกรด
สีคล้านน้ำนม เมื่อหลั่งออกมาจะเกาะกันเป็นก้อน (coagulum)
coagulum ช่วยให้ตัวอสุจิไม่ไหลออกจากช่องคลอดเร็วเกินไป
-น้ำอสุจิขับออกมาแต่ครั้งประมาณ 3-.5 มล
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของอัณฑะ
Cryptorchidism
ภาวะที่อัณฑะค้างอยู่ในช่องท้อง ไม่เลื่อนลงมาอยู่ในถุงอัณฑะก่อนคลอด
รักษาโดยให้ฮอร์โมน GnRH /
ผ่าตัดก่อนเข้าสู่วัยหนุ่ม
การที่อัณฑะค้างอยู่ในช่องท้องอาจเป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งอัณฑะ ทำให้เกิดการเป็นหมัน
Hypogonadism
ภาวะที่ร่างกายมี testosterone น้อย
ถ้าเกิดก่อนทารกคลอดจะทำให้ระบบสืบพันธ์ไม่พัฒนา
ถ้าอัณฑะไม่ทำงานก่อนวัยรุ่นจะเกิด Male enuchoidism ไม่มี secondary sexual characteristics ไม่มีการสร้างตัวอสุจิ
ถ้าเกิดในผู้ใหญ่ accessory sex glands จะฝ่อ
Androgen-Secreting Tumors
อัณฑะสร้างและหลั่ง androgens มากเกิน
เนื่องจากเนื้องอกของ ley’s dig cells จะทำให้เข้าสู่วัยหนุ่มก่อนเวลา เรียก
precocious pseudopuberty
นางสาวศิรภา ไม้สุพร
ที่มา
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/70700/-scibio-sci-
sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2456/1/BIB756.pdf
https://sites.google.com/site/lifeskillforhealthdevelopment/home/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-3-phes-phathna/2-1-rabb-subphanthu-phes-chay
https://il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter5/testes.htm
http://www.kruseksan.com/book/reproductive-system.pdf
ที่มารูปภาพ
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/70700/-scibio-sci-
https://sites.google.com/site/ibiologyislife/rabb-subphanthu?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1
https://il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter5/testes.htm
https://www.connecticutchildrens.org/health-library/en/parents/az-cryptorchidism/