Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะคลอด การพยาบาลระยะที่1, นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028 -…
การพยาบาลในระยะคลอด การพยาบาลระยะที่1
การรับใหม่
การประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการประกอบด้วย
Hct = 33-42%
Hb = 10-14 gm/dL
ผลการตรวจ HBsAG
ผลการตรวจเอชไอวี (HIV)
ผลการตรวจหาภูมิต้านทานต่อเชื้อซิฟิลิส VDRL
ผลปกติ(non reactive) ผลผิดปกติ(reactive)
ในระยะคลอดเม็ดเลือดขาวสูงถึง 25,000-30,000 เซลล์/ลบ.มล. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นิวโตรฟิล(neutrophil)
การตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินหาไข่ขาว(Albumin) และน้ำตาล(Sugar) เพื่อวินิจฉัยภาวะเบาหวานและภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผลการตรวจหาโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะระดับปกติควรเป็นลบ(negative) หรือพบเล็กน้อย(trace)
ระดับส่วนน้ำตาลต่ำลงเนื่องจากจากใช้เป็นแหล่งพลังงานในการหดรัดตัวของมดลูกและจากภาวะเครียด
การรายงานแพทย์
ในกรณีที่มารดามีภาวะเสี่ยงและเห็นว่าจะเป็นปัญหาสุขภาพให้รายงานแพทย์ทราบ
มีภาวะความดันโลหิตสูง
มีภาวะเบาหวาน
มีเลือดออกทางช่องคลอด
มีน้ำเดินโดยไม่เจ็บครรภ์
เด็กดิ้นน้อย
การใช้ Partograph
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
เมื่อมดลูกหดรัดตัวมากขึ้นและบันทึก
กราฟในพาโทกราฟ เพื่อประเมินความก้าวหน้า
ของการคลอดและวินิจฉัยภาวะผิดปกติ
ประโยชน์
คัดกรองภาวะเสี่ยงในระยะการคลอด
สามารถวินิจฉัยการคลอด ที่ยืดเยื้อ
เนื่องจากมดลูกรัดตัวไม่ดี
ช่วยในการตัดสินใจ เพื่อให้การ
บริหารจัดารในการรักษา
ส่วนประกอบที่สำคัญของ WHO pantograph
สภาพของทารก
ความก้าวหน้าของการคลอด
สภาพของมารดา
การให้ยาและการรักษา
ข้อยกเว้นในการใช้ WHO pantograph
Premature labor pain
เจ็บครรภ์ใกล้จะคลอดที่ปากมดลูกเปิดขยาย 9-10 c s
ไม่ต้องการใ้มีเจ็บครรภ์คลอด เช่นการนัดผ่าตัด
การรับใหม่
การบันทึกสภาวะของทารกในครรภ์
FHR
เยื่อหุ้มทารก(Membrane)
น้ำคร่ำ(Liquor)
การปรับตัวของศีรษะทารก(Molding)
สภาพของทารก
อัตราการเต้นของหัวใจทารกต่อนาที
ระยะเฉื่อย ควรฟังFHR ทุก30-60นาที
ระยะเร่ง ควรฟังFHR ทุก30นาที
ลักษณะของถุงน้ำคร่ำ
การเกยก้นของกะโหลกศีรษะ
ความก้าวหน้าของการคลอด
การเปิดขยายของปากมดลูก แบ่งเป็น2ระยะ
ระยะเฉื่อย
ระยะเร่ง
ในระยะ Active phase มีเส้นทะแยง2เส้น
เส้นตื่นตัว
เส้นปฏิบัติ
เส้นส่งต่อ
การเคลื่อนต่ำของศีรษะ
การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะเวลานานในการหดรัดตัว
ความแรงในการหดรัดตัว
ตัวอย่างความผิดปกติของความก้าวหน้า
ของการคลอด
เมื่อเส้นกราฟลากเส้น Alert line
เมื่อเส้นกราฟลากถึงเส้น Action line
การดูแลในสถานพยาบาลที่มีความพร้อม
ระยะ Latent phase นานกว่า8ชม.
เมื่อเส้นกราฟลากเส้นผ่านเส้น
Alert line
เมื่อเส้นกราฟถึงเลยเส้น Action line
ภาวะของมารดา
ควรตรวจอย่างน้อยทุก4ชม.
ความดันต่ำ,ชีพจร,อุณหภูมิ,ปัสสาวะ
การให้ยาและการรักษา oxytocin วิธีการให้รวมถึงขนาดและปริมาณยาลงช่อง
การเตรียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
การเตรียมร่างกายเพื่อการคลอด
การเตรียมความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
การสวนอุจจาระ(ในรายที่มีความจำเป็น อย่างท้องผูก)
การทำความสะอาดร่างกาย
การเตรียมทางด้านจิตใจเพื่อการคลอด
ระยะLatent phase กระตุ้นถือว่าเป็นสิ่งคุกคามมีน้อย มีความเครียดน้อย
ระยะAction phase เกิดความเครียดมากขึ้น มดลูกมีการหดรัดตัวแรงและถี่ขึ้น
ระยะTransition phase มีความวิตกกังวลสูง
มีความเจ็บปวด
การดูแลในระยะที่1ของการคลอด
ความสุขสบายและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโภชนาการ
การพักผ่อนและการทำกิจกรรม
การขับถ่ายและกระเพาะปัสสาวะ
การบรรเทาความเจ็บปวด
การจัดท่าผู้คลอด
นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028