Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ความแตกต่างระหว่างบุคคล - Coggle Diagram
บทที่ 4 ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความหมาย
มนุษย์เรามีความคล้ายคลึงกันอยู่หลายประการ เช่น ต่างก็มีความต้องการ มีอารมณ์ มีความรู้สึกที่เหมือนกัน
ความแตกต่างระหว่าง บุคคลจึงเป็นคุณสมบัติในด้านต่างๆของบุคคล ซึ่งแต่ละบุคคลจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ทำให้แต่ละบุคคล แตกต่างกัน
สาเหตุปัจจัยที่ส่งผลต่อความแตกต่าง
พันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของบรรพบุรุษไปสู่รุ่นหลาน โดย ผ่านกระบวนการทางชีววิทยา
กำหนดโดยสารพันธุกรรมที่เรียกว่า ยีนส์ ซึ่งอยู่ในโครโมโซม
สิ่งแวดล้อม
1. สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด
อายุของมารดา ความเกี่ยวพันธ์ทางสายเลือดของบิดามารดา
คุณภาพของอาหาร ยาที่รับประทาน
2. สิ่งแวดล้อมขณะคลอด
ภาวะที่สมองของทารกขาดออกซิเจนขณะคลอด สมองได้รับอันตรายจากการคลอด
สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเราและทำให้คนเรา แตกต่างกัน ได้แก่ การอบรมเลี้ยงดู การคบเพื่อน การสังคม
3. สิ่งแวดล้อมหลังคลอด
1. ครอบครัว
2. โรงเรียนหรือสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับบุคคลในช่วงต่อๆมาของชีวิต หลังจากที่คลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว
3. กลุ่มเพื่อน
4. สื่อมวลชน
5. ศาสนา
6. ระบบของสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละชาติ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความแตกต่างระหว่างอารมณ์
: อารมณ์ดีใจ เสียใจ อิจฉา ริษยา
ความแตกต่างด้านสังคม
: การพูด การวางตัว การเข้าใจ
ความแตกต่างทางด้านร่างกาย
: ลักษณะความสูง เตี้ย อ้วน ผิวขาว ผิวเหลือง
ความแตกต่างทางด้านเชาว์ปัญญา
: ความคิด ความจำ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ
ความแตกต่างทางด้านความถนัด
: ถนัดทางด้านเครื่องจักรกล มักประกอบอาชีพวิศวกร
2. ความแตกต่างภายในตัวบุคคล
นักเรียนคนหนึ่งมีความสามารถทางคณิตศาสตร์สูงแต่มีความสารถทักษะทางศิลปะและดนตรีต่ำ
ความแตกต่างต่อการเรียน
ความพร้อม
: สภาวะความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่ พร้อมจะตอบสนองต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งทางด้านร่างกาย
สุขภาพร่างกายและจิตใจ
ความต้องการ
: ส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
เชาว์ปัญญา
: บางคนอาจเรียนได้ช้าในขณะที่ บางคนอาจเรียนได้เร็วกว่า
จุดมุ่งหมายทางการเรียน
ทัศนคติ
โครงสร้างของร่างกาย
: นับตั้งแต่ความสูงและน้ำหนัก
อารมณ์
: อารมณ์อาจทำหน้าที่เป็นแรงจูงใจให้ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นต่อบทเรียน
บุคลิกภาพและการปรับตัว
ประเภทของความแตกต่าง
3. ด้านวิธีการเรียนรู้
3. แบบหลีกเลี่ยง
ผู้เรียนแบบนี้จะไม่สนใจเรียนเนื้อหาวิชาในชั้นเรียนตามแบบแผน
4. แบบมีส่วนร่วม
ลักษณะเรียนแบบนี้ต้องการเรียนรู้เนื้อหาของวิชาและชอบที่จะเข้าชั้นเรียน
2. แบบร่วมมือ
ผู้เรียนแบบนี้มีความรู้สึกว่าเขาสามารถเรียนได้ดี แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน
5. แบบพึ่งพา
ลักษณะของผู้เรียนแบบนี้มีความอยากรู้อยากเห็นของวิชาการน้อยมาก
6. แบบอิสระ
ผู้เรียนประเภทนี้ชอบที่จะคิดทำเรื่องต่างๆ ด้วยตนเอง แต่จะฟังความเห็นของคนอื่นๆ
1. แบบแข่งขัน
เป็นแบบที่ผู้เรียนแสดงเพื่อที่จะเอาชนะเพื่อนด้วยกัน โดย พยายามทำอะไรๆ ให้ดีกว่าคนอื่น
4. ด้านลีลาการเรียนรู้
เรียนรู้ได้ดีถ้าเรียนจากรูปภาพ แผนภูมิแผนผัง :
ผู้ที่เรียนรู้ทางสายตา
เรียนรู้ได้ดีที่สุดถ้าได้ฟังหรือได้พูด จะไม่สนใจรูปภาพ ไม่สร้างภาพ :
ผู้ที่เรียนรู้ทางโสตประสาท
.
เรียนโดยผ่านการ รับรู้ทางความรู้สึก การเคลื่อนไหว และร่างกาย :
ผู้ที่เรียนรู้ทางร่างกายและความรู้สึก
2. ด้านอัตราการเรียนรู้
ใช้เวลาในการศึกษาต่างกัน บางคนอาจทำความ เข้าใจได้ในระยะอันสั้น ในขณะที่บางคนต้องการเวลา
ประสบการณ์เดิมในการเรียนรู้ไม่เพียงแต่ช่วยให้มี พื้นฐานในการเรียนเท่านั้น แต่ยังทำให้การเรียนก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วอีกด้วย
5. ด้านความสนใจ
ความสนใจอันเกิดจากความสำเร็จ
ความสนใจเกิดจากความต้องการ
ความสนใจอันเกิดจากความชอบ
1. ด้านความสามารถ
วิธีการศึกษาความแตกต่าง
1. จากการสังเกตขอครู
2. ใช้เครื่องมือ
แบบเชาว์ปัญญา
แบบทดสอบสัมฤทธิ์ผล
แบบทดสอบความถนัด
ประโยชน์การทราบความแตกต่าง
ด้านวิชาการ
แก้ไข ลดความเบื่อหน่าย ความยุ่งยากและป้องกันปัญหาด้านการเรียน
ช่วยในการการเลือกอาชีพที่เหมาะสม
เข้าใจวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
ด้านตัวบุคคล
ทราบจุดแข็งและจุดอ่อน ทราบวิธีการใช้สมองของตนเองให้ดีที่สุด
มีความสุขกับการเรียน
เสริมสร้างความมั่นใจ
วิธีการช่วยเหลือผู้เรียน
1. ด้านการบริหาร
การจัดชั้นเรียน
แบ่งกลุ่มตามความสามารถ
แบ่งกลุ่มแบบคละ
แบ่งกลุ่มตามความสนใจ
จัดโปรแกรมการเรียน
จัดตารางเรียนแบบยืดหยุ่น
บริการแนะแนวการศึกษา
เปิดวิชาเลือก
จัดชั้นเรียนสำหรับเด็กอัจฉริยะ
การจัดชั้นเรียนสำหรับเด็กเรียนช้า
2. ด้านการสอน
การให้งาน
จำแนกความแตกต่างของงาน
เวลาที่ใช้ในการทำงาน
แบ่งกลุ่มในห้องเรียน
กลุ่มตามความสนใจ
กลุ่มตามจุดมุ่งหมาย
กลุ่มตามความสามารถ
กลุ่มตามความต้องการที่จำเป็น
การสอนแบบรายบุคคล
กำหนดแผนการเรียน
ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนทราบความก้าวหน้าของตน
การสอนโดยวิธีการแบบอิสระ
ค้นหว้าจากห้องสมุด ทดลอง วิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการ
การซ่อมเสริม
สอนซ่อม เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง สอนเสริมสำหรับเพิ่มทักษะใหม่ ๆ