Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่เสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยกลางคน - Coggle Diagram
การส่เสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยกลางคน
พัฒนาการในวัยกลางคนวัยกลางคน อายุ 40-59 ปี) นับว่าเป็นช่วงที่ส าคัญในชีวิตระยะหนึ่งเพราะเป็นวัยที่จะเห็นว่าบุคคลประสบความส าเร็จในชีวิตเพียงใด เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนหรือเรียกกันว่า “วัยทอง” ซึ่งฮอร์โมนเพศมีการเปลี่ยนแปลง เพศหญิงจะเข้าสู่วัยทองอายุประมาณ 40-45 ปี โดยรังไข่จะเริ่มท างานลดลง และเมื่ออายุประมาณ 50 ปี จะเข้าสู่วัยหมดประจ าเดือนฮอร์โมนเพศหญิง หรือเอสโตรเจนจะหมดไป ส่วนฮอร์โมนแห่งความก าหนัดหรือเทสโทสเตอโรนก็จะลดลงทันทีอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง จึงเกิดความเฉื่อยชาทางเพศ
พัฒนาการในวัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่จะเริ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 21 ปี จนถึงอายุ 40 ปี วัยนี้จัดเป็นการทดลองเพื่อค้นหาแนวทางชีวิตที่ต้องการได้แก่ อาชีพ สังคม คู่ครอง ซึ่งรวมถึงความเป็นพ่อเป็นแม่ และการอยู่เป็นโสด ระยะพัฒนาการของวัยนี้เรียกได้ว่า เป็นระยะส ารวจ Explore period) เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ หน้าที่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของวัยผู้ใหญ่
ปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากพัฒนาการ
วัยหมดระดู หรือสตรีวัยทอง Menopause) เมื่อสตรีเข้าสู่วัยหมดประจ าเดือนอายุประมาณ 45-45 ปี จะเกิดการขาดฮอร์โมนเอสโตเจน ปริมาณคอลลาเจนจะลดลงอย่างรวดเร็ว ในระยะ 5 ปีแรกลดลงประมาณ 30% หลังจากนั้นจะลดลงประมาณ 21% ต่อปีที่ผ่านไป มีผลท าให้ผิวหนังฝ่อบางลง atrophy)
ชายวัยทอง Andropause หรือ partial androgen deficiency in aging male or PADGAMการลดระดับฮอร์โมนจะท าให้ผิวหนังแห้งและบางลงคล้ายๆ กันกับที่เกิดในสตรีวัยทองกล่าวคือ ผิวหนังจะฝ่อและ skin pores มีขนาดเล็กลงเมื่อเปรียบเทียบกับผิวหนังในวัยหนุ่ม นอกจากนั้นยังพบว่าการสร้างไขมัน
ปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากพัฒนาการ
ปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมเสี่ยง
การใช้สารเสพติดต่างๆ ได้แก่ ยาบ้า บุหรี่ แอลกอฮอล์ ยาบ้า Amphetamines) เป็นยาในกลุ่มที่กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง CNS) ท าให้เกิดการติด Physical dependence) และมีความต้องการยาประการ ได้แก่ ปัญหาการปรับตัวในวัยรุ่น และมีการเสพต่อเนื่องมาจนถึงวัยผู้ใหญ่ บางคนเสพเพราะเชื่อว่าทำให้ทำงานไม่เหนื่อย
พฤติกรรมการขับขี่รถยนต์ในวัยผู้ใหญ่ พฤติกรรมในการขับขี่รถยนต์โดยไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร
ปัญหาด้านสุขภาพทั่วไป
พัฒนาการด้านสังคมและวิวัฒนาการด้านการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้าขึ้น รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ เช่น ขาดการออกก าลังกาย มีความเครียด การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ทำาให้เกิดภาวะโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น
3.2.1 การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น รับประทานอาหารที่มีไขมัน เกลือและน้ าตาลในปริมาณมาก มีผลท าให้เกิดโรคต่างๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง เกิดโรคของหลอดเลือดหัวใจ เกิดการอุดตันของไขมันในหลอดเลือดรับประทานน้ำตาลที่มีปริมาณมากเกินความต้องการของร่างกาย
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและการปกป้องสุขภาพของวัยผู้ใหญ่
อุบัติเหตุ การป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนน โดยการขับขี่ยวดยานด้วยความไม่ประมาท ไม่เสพของมึนเมา สร้างจิตส านึกในเรื่องเมาไม่ขับ การปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด การตรวจสอบสภาพรถให้ดีก่อนการเดินทาง
5.4 การตรวจคัดกรองโรค
5.5 ความเครียดและการจักการกับความเครียด
1) การคิดหรือมีจินตนาการถึงสิ่งที่ชอบพอใจมีความสุข และฝึกเทคนิคผ่อนคลาย Imagery 2) การฝึกหายใจ Deep breathing)3) การใช้ดนตรีบ าบัด Music therapy)4) การใช้อารมณ์ขัน Humor) การหัวเราะท าให้ร่างกายหลั่งสาร endorphins เพิ่มขึ้นในกระแสเลือด สามารถลดความตึงเครียดและท าให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายได้
การตรวจร่างกายประจำาปี
การตรวจคัดกรองทางห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเสี่ยง
การตรวจ stool exam for occults blood เพื่อตรวจหามะเร็งล าไส้และทวารหนัก
การท า colonoscopy, Sigmoidoscopy ในกลุ่มเสี่ยงทุก 3-5 ปี ภายหลังอายุ50 ปี
การตรวจ pap smear เพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูก พบมากในวัย 50-64 ปี ผู้ที่ตรวจพบ
5.4.3 การตรวจเต้านมด้วยตนเอง Breast self examination) อย่างน้อยเดือนละครั้ง
การออกก าลังกาย การออกก าลังกายที่สม่ าเสมอ ท าให้มีอายุยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ช่วยให้ไม่เป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง กระดูกพรุน และโรคซึมเศร้า คนประมาณ 25% ไม่มีเวลาว่างที่จะออกก าลังกาย และโดยทั่วไปแล้วเวลาจะยิ่งน้อยลงเมื่ออายุมากขึ้นการออกก าลังกายให้ผลดีจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลานานพอเพียงที่จะท าให้ระบบหัวใจ และหลอดเลือดท างานได้ดี กิจกรรมอาจเป็นการอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลานานพอเพียงที่จะท าให้ระบบหัวใจ และหลอดเลือดท างานได้ดี กิจกรรมอาจเป็นการเดินเร็วๆ brisk walking) วิ่งเหยาะๆ jogging) ว่ายน้ า ขี่จักรยาน กระโดดเชือก
ควรงดอาหารประเภทไขมันทั้งชนิดไม่อิ่มตัวและชนิดอิ่มตัวให้น้อยกว่า 10% ของแคลอรี่ที่ร่างกายต้องการ พร้อมทั้งควบคุมน้ าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การควบคุมน้ าหนักอาจท าได้โดยการก าหนดเป้าหมาย กำหนดแผนการรับประทานอาหารในเกณฑ์มาตรฐาน การควบคุมน้ าหนักอาจท าได้โดยการก าหนดเป้าหมาย ก าหนดแผนการรับประทานอาหารการใช้กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน self help group) ร่วมกับการออกก าลังกาย การปฏิบัติดังกล่าว จะช่วยให้มีภาวะสุขภาพดี