Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์ - Coggle Diagram
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
Join Operation
Theta join
โดยที่เงื่อนไข สามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบดังนี้ < , , > , , = , ผลลัพธ์จากการใช้ตัวดำเนินการ Theta join จะได้รีเลชันผลลัพธ์ที่มีจำนวนแอทริบิวท์เท่ํากับ จำนวนแอททริบิวท์ของสองรีเลชันรวมกัน
Equijoin
มีคุณสมบัติเหมือน Theta join แต่สามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบในเงื่อนไขได้เฉพาะเครื่องหมายเท่ากับ ( =) เท่านั้น
-
Outer Join
ตัวดำเนินการ Outer Join เป็นตัวดำเนินการที่ใช้เชื่อมข้อมูลจาก 2 รีเลชัน แต่ดึงเอาเฉพาะที่ไม่ตรงกันออกมา
Semijoin
ตัวดำเนินการ Semi join เป็นการแสดงทูเพิลของรีเลชันแรกที่ Join กับรีเลชันที่สอง ข้อดีของการ Join แบบ Semi join คือลดจำนวนทูเพิลที่เกิดจากการ Join เราสามารถเขียนสมการของSemi join จากตัวดำเนินการ Projection และ Join
ตัวดำเนินการพีชคณิตเชิงสัมพันธ์ในกลุ่มของ Set Operation ใช้สำหรับการกระทำกับข้อมูลใน
รีเลชันหลายรีเลชัน
Union Operation
ซึ่งรีเลชันที่จะนำมา Union ต้องมีคุณสมบัติของรีชันแบบเดียวกัน(มีจำนวนแอททริบิวท์เท่ากันและมีโดเมนเดียวกัน)
Intersection Operation
เพื่อแสดงข้อมูลของทุกทูเพิล ที่ปรากฏอยู่ในทั้ง 2 รีเลชัน ที่นำมารวมกันในรูปแบบของ Intersection ซึ่งรีเลชันที่จะนำมา Union ต้องมีคุณสมบัติของรีชันแบบเดียวกัน(มีจำนวนแอททริบิวท์เท่ากันและมีโดเมนเดียวกัน)
-
Cartesian Product
ตัวดำเนินการ Cartesian Product เป็นกํารกระทำกับรีเลชัน 2 รีเลชัน โดยการจับคู่ทุกทูเพิลในรีเลชันหนึ่งกับทุกทูเพิลในอีกรีเลชัน
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
ตัวดำเนินการที่กระทำกับรีเลชันใดรีเลชันหนึ่งหรือหลายรีเลชันเพื่อ
สร้างอีกรีเลชัน โดยไม่กระทบกระเทือนกับรีเลชันเดิม
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์มีตัวดำเนินการดังนี้Selection , Projection , Cartesian product , Union ,
Set difference , Join , Intersection และ Division
Division Operation
ตัวดำเนินการ Division จะสร้างรีเลชันที่มีแอททริบิวท์ของทูเพิล
จากรีเลชัน R ที่ตรงกับกํารรวมทุกทูเพิลในรีเลชัน S
สมมติให้รีเลชัน R กำหนดให้มีกลุ่มแอททริบิวท์ A และรีเลชัน S กำหนดให้มีกลุ่มของแอททริบิวท์ B ดังนั้นเมื่อ B A (หมายถึง B เป็น subset ของ A) แล้ว C = A – B ซึ่ง C ประกอบด้วยแอททริบิวท์ของ A ไม่ใช่ B
-