Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ, นายธนกร เอกบุตร 62021000 - Coggle Diagram
การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ
กระบวนการพัฒนาแบบทดสอบ
3.Test try-out
(การทดลองใช้แบบทดสอบ)
การนำแบบทดสอบ / แบบวัด / แบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้จริง
เช่น แบบวัด A เป็นแบบวัดสำหรับเด็กก่อนวัยรุ่น ดังนั้นต้องนำปทดลองใช้กับเด็กก่อนวัยรุ่น
1.Test Conceptualization (ความคิดเกี่ยวกับแบบทดสอบ)
การเริ่มสร้างแบบทดสอบ มักเริ่มจาก
เกิดจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นักพัฒนาแบบทดสอบต้องการที่จะสร้างแบบทดสอบเพื่อวัดปรากฏการณ์ทางสังคมหรือแบบแผนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นใหม่
“Self - talk”นักพัฒนา หรือนักสร้าง Test มักจะพูดกับตนเองว่า
“น่าจะมีแบบวัดที่สร้างเพื่อวัด.......โดยวิธี........”
คำถามที่สำคัญ
จุดประสงค์ของแบบวัดคืออะไร
มีความจำเป็นจริงๆหรือที่จะสร้างแบบทดสอบ
ใครต้องการจะทำแบบทดสอบนี้
แบบทดสอบใหม่นี้ครอบคลุมเนื้อหาอะไรบ้าง
แบบทดสอบใหม่ฉบับนี้จะดำเนินการทดสอบอย่างไร
แบบทดสอบฉบับใหม่จะมีลักษณะอย่างไร
แบบทดสอบฉบับใหม่นี้ควรมีหลายฉบับหรือไม่เพราะเหตุใด
ต้องมีการฝึกอบรมให้แก่ผู้ดำเนินแบบทดสอบและผู้แปลผลคะแนนของแบบทดสอบฉบับใหม่หรือไม่เพราะเหตุใด
4.การหาคุณภาพของ
แบบทดสอบ / แบบวัด / แบบสอบถาม
การหาคุณภาพรายข้อ
หาค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item - total correlation)
หาค่าอำนาจจำแนกรายข้อโดยการทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำโดยใช้การทดสอบt-test เลือกข้อที่ sig
หาคุณภาพทั้งฉบับ
หาค่าReliability
หาค่าconstruct validity
Item-total correlation
Factor analysis
2.Test Construction (การสร้างแบบทดสอบ)
การออกแบบเครื่องมือวัด (Scaling)
measurement หมายถึงการให้ค่าเป็นตัวเลขกับสิ่งที่จะวัดตามกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้
scales หมายถึงกฎของการวัด
scaling หมายถึงกระบวนการตั้งกฎเกณฑ์เพื่อกำหนดตัวเลขต่างๆในการวัด
ประเภทของscale
nominal scale
ordinal scale
interval scale
ratio scale
Scaling Methods
(วิธีการกำหนดตัวเลข/ค่าให้แก้คำตอบ)
คำตอบแต่ละคำตอบจะถูกกำหนดเป็นตัวเลข/ค่าอะไรบ้าง
คะแนนที่ได้จะนำมาคำนวณอย่างไร
ประเภท
Comparative Scale
Guttman Scale
Paired Comparisons
Rating Scale
Categorical Scale
การเขียนข้อคำถาม (Writing items)
การให้คะแนน (Scoring of items)
Test Revision
(การแก้ไขปรับปรุงแบบทดสอบ)
Selection of Items
การเลือกข้อคำถามต้องพิจารณาการวิเคราะห์รายข้อ มี 2 วิธี
1.วิธีการหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ โดยใช้สถิติ t-test
1.เลือกเฉพาะคนที่ได้คะแนนสูงสุด 25% หรือ 27 %
และต่ำสุด 25% หรือ 27 %
2.หาค่า t ในแต่ละข้อ โดยใช้สูตร
เลือกเฉพาะข้อที่มีค่า t≥ 1.75
2.Correlation Method
วิธีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ใช้โปรแกรมสำเร็จทางสถิติ(SPSS) คำนวณ เลือกเฉพาะข้อที่มีค่าสัมประสิทธิ์กับ Total score สูง
นายธนกร เอกบุตร 62021000