Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวสุจินตนา สุโพธิ์ เพศหญิง อายุ 23 ปี CC : ท้องโต กินไม่ได้ 1…
นางสาวสุจินตนา สุโพธิ์
เพศหญิง อายุ 23 ปี
CC : ท้องโต กินไม่ได้ 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล
Pathophysiology
DORV
Double outlet right ventricle (DORV) เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ซึ่งมีเส้นเลือดแดงทั้ง aorta และ pulmonary มาต่อโดยตรงกับ right ventricle ทำให้เลือดแดงจาก LA สู่ LV ผ่าน VSD ไปยัง LV, RV บีบส่งเลือดไปยัง Aorta, Pulmonary ทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายมีความเข้มข้นของออกซิเจนต่ำ ในกรณีที่มี PS, VSD ทำให้เเรงต้านของหลอดเลือดไปปอด ทำให้VSD ขนาดใกล้เคียง Aorta เลือดดำจาก RV ไหลเข้า Aorta เลือดแดงจาก LV ไหลเข้า Aorta เลือดดำและเลือดแดงผสมกัน
ASD
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบน (atrial septal defect : ASD) พบบ่อยเป็นอันดับรองลงมา ผลจากการที่มีรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบนในเด็กเล็กอาการอาจยังไม่แสดง เมื่ออายุมากขึ้นปริมาณเลือดแดงไหลผ่านจากหัวใจห้องบนข้าย ไปด้านขวามากจะเพิ่มมากขึ้น สามารถตรวจพบเสียงฟู้หัวใจ และทำให้เกิดอาการได้ ส่วนใหญ่มักถูกตรวจพบโดยบังเอิญ ในช่วงวัยเรียน (มากกว่า 3 ปี) ส่วนอาการหัวใจวาย หรือเหนื่อยง่ายเวลาออกกำลัง มักพบในเด็กโต หรือผู้ใหญ่
VSD
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง (ventricular septal defect : VSD)พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ผลจากการที่มีรูรั่วผนังกั้นห้องหัวใจห้องล่าง ทำให้เลือดแดงจากหัวใจห้องล่างซ้ายผ่านรูรั่วไปยังห้องล่างขวา และออกสู่หลอดเลือดแดงของปอด ทำให้ปริมาณเลือดที่ไปปอด
มากขึ้น ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย และล่างข้ายจะเพิ่มมากขึ้นด้วย ทำให้หัวใจห้องซ้ายรับภาระมากขึ้น (ปริมาณเลือดเพิ่ม) เกิดภาวะหัวใจวายได้ โดยเฉพาะในกรณีที่รูรั่วมีขนาดใหญ่ โดยทั่วไปมักเกิดอาการ หรือตรวจพบได้ในอายุ 2-3 เดือนแรก เนื่องจากความต้านทานในหลอดเลือดแดงปอดลดต่ำลง ในรายที่รูรั่วมีขนาดเล็กมักไม่เกิดอาการ ตรวจพบแต่เสียงฟู่ของหัวใจ
PS
ลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอดตีบแคบ (pulmonarystenosis: PS) ปกติลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอด จะมีลักษณะคล้ายกระเปาะ 3 อันติดกันในท่าปิดจะปิดได้สนิทเพื่อไม่ให้เลือดย้อนกลับ ในท่าเปิดจะเปิดได้จนสุด ให้เลือดไหลออกจากหัวใจห้องล่างขวาไปปอด ในผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจเส้นเลือดไปปอดตีบ จะส่งผลให้หัวใจห้องล่างขวา ต้องทำงานมากขึ้น อาการของผู้ป่วยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการตีบ ตั้งแต่ไม่มีอาการ ตรวจพบแต่เสียงฟู่ของหัวใจ จนถึงมีอาการหน้ามืดเป็นลมในผู้ป่วยบางรายที่มีความรุนแรงมากตั้งแต่เกิด อาจส่งผลให้มีอาการเขียว และหัวใจห้องล่างขวาวายได้
PDA
การคงอยู่ของหลอดเลือดแดงเชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดง
ใหญ่ทั้งสอง(patent ductus arteriosus :PDA)คือเชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายและของปอดสามารถพบได้เมื่อทารกอยู่ในครรภ์เมื่อทารกคลอดออกมาหลอดเลือดนี้มักจะหดตัวเล็กลงจนปิดไปยกเว้นในรายที่มีความผิดปกติทำให้หลอดเลือดนี้คงอยู่เลือดแดงส่วนหนึ่งจากหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายจะไหลผ่านไปยังหลอดเลือดแดงของปอดปริมาณเลือดไปปอดเพิ่มขึ้นและไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องต้ายเพิ่มขึ้น คล้ายในรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง
right side HF
ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายได้อย่างเพียงพอทำให้เกิดอาการเหนื่อยหายใจเร็วดูดนมแล้วเหนื่อยต้องหยุดเป็นพักๆและใช้เวลาดูดนมนานหรือดูดนมไม่หมดน้ำหนักตัวขึ้นข้าหรือตัวเล็กกว่าเด็กในวัยเดียวกันเหงื่อออกมากบริเวณศีรษะบวมเป็นหวัดบ่อยปอดอักเสบง่ายและหายช้าอาจพบร่วมกับโรคหัวใจพิการทั้งชนิดไม่เขียวและเขียวหรือในผู้ป่วยบางรายสามารถเกิดขึ้นในภายหลังได้เด็กเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับยาเพื่อช่วยการทำงานของหัวใจการรักษาต้องทำอย่างต่อเนื่องรวมถึงการรับประทานบิดามารดาหรือผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือในการรักษาได้มีการจำแนกประเภทของภาวะหัวใจล้มเหลวแตกต่างกันไปดังนี้Right-sidedและLeft-sidedfailureซึ่งอธิบายว่าภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลวคือปริมาณเลือดออกจากหัวใจด้านขวาล่างน้อยกว่าปริมาณเลือดที่รับมาจากหลอดเลือดดำทั่วร่างกายทำให้มีการคั่งของเลือดดำทั่วร่างกายจึงปรากฎอาการบวมตับโตท้องมานเป็นต้นส่วนภาวะหัวใจซีกซ้ายล้มเหลวเกิดจากเลือดออกจากหัวใจด้านล่างซ้ายน้อยกว่าเลือดที่รับมาจากปอดทำให้เกิดการคั่งของเลือดที่หัวใจด้านซ้ายและปอดจะปรากฎอาการหายใจหอบ(dyspnea)หายใจลำบากตอนนอนราบ (orthopnea)หรือหายใจลำบากตอนกลางคืน(PND)
Ascites
เมื่อเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงตับไม่เพียงพอทำให้เกิดความผิดปกติของตับและความดันในหลอดเลือดภายในตับเพิ่มขึ้นสูง ส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติในการกำจัดเกลือและน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย
Nursing Diagnosis
มีความวิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถปรับสู่สภาวะเจ็บป่วยได้
เตรียมผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
มีภาวะหัวใจล้มเหลว
การวางแผนจำหน่าย(Discharge planning)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจน(hypoxic spells)เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
การตรวจร่างกาย
Skin nail :
ลักษณะผิวขาวเหลือง มีความตึงตัวของผิวหนังดี,ชุ่มชื้น บริเวณปลายมือปลายเท้าเขียว, Clubbing Fingers positive , Capillary Refill Time = 2 วินาที
Heart :
SLM at LUPSB gr.III
GE :
หญิงไทยอายุ 23 ปี ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี รับรู้วัน เวลา สถานที่ สีหน้าปกติ ยิ้มแย้มแจ่มใส สามารถพูดคุยตอบคำถามได้ บริเวณปลายมือปลายเท้าเขียว บริเวณหน้าท้องบวมโต
Abdomen :
ลักษณะบริเวณหน้าท้องบวมโต, fluid thrill positive, not tenderness, no guarding.
การผ่าตัด
ทำการผ่าตัด Bidirectional Glenn(23/1/2548)
ทำการผ่าตัด Rt. Thoracotomy with Repair Rt. Subclavian(30/6/2564)
ทำการผ่าตัด Redo TVAI TVR(Plan 20/1/2565)
การตรวจพิเศษ
Echo Cadiogram
(15/1/2565)
dilate IHV and IVC
RAE, RVE by RV volume overload due to severe TR
Severe TR, dilate TV annulus 48 mm
RVEF 50%
Present with right sided HF, liver congestion ascites
No pericardial
U/S
-Mild parenchymatous change of liver dilated hepatic veins and IVC, suggested liver congestion could be due to CHF.
-Diffuse thick wall bladder, could be due to ascites.
-Diffuse ascites.
-Prominent size spleen (12.1cm.)
EKG
Show PVC