Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bacterial Disease Gram Positive Bacteria, A6480058 นางสาวอารียา บังทอง -…
Bacterial Disease
Gram Positive Bacteria
Bacillus cereus
การก่อโรค
1.เชื้อสร้าง Enterotoxin >> FoodPoisoning
▪heatstableenterotoxin : มีอาการอาเจียน
▪heatlabileenterotoxin : ท้องร่วง
2.ตาอักเสบ (Panophthalmitis)
▪ แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดิน >>แพร่เข้าตา
▪ เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว >> ทำลายเนื้อเยื่อเรตินา >> สูญเสียการมองเห็นภายใน 48 ชม.
Clostridium
Clostridium tetani
การก่อโรค >> โรคบาดทะยัก (Tetanus)
การก่อโรค
• Toxin เข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
• เกิดจากบาดแผลขนาดเล็ก หรือรอยถลอก ที่ปนเปื้อนสปอร์ของเชื้อ C.tetani จากดิน หรือจากการสัมผัสสิ่งสกปรก
• เชื้อแบ่งตัวได้ดีในสภาพเนื้อตาย แผลลึก และแผลที่มีดินติด
• ทางเข้าของเชื้อ คือ บาดแผลฉีดขาด การติดเชื้อหลังคลอดและการตัดสายสะดือทารก
อาการและอาการแสดง
1.อาการขากรรไกรแข็ง : เนื่องจากการหดตัวของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยว
อาการชักกระตุก : เนื่องจากได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แสง เสียง การสัมผัส
3.อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า : เวลานอนจะมีส่วนศรีษะและแขนที่แตะที่นอน ขาทั้งสองข้างเหยียดตรง
Clostridium perfringens
การก่อโรค
Clostridial Food Poisoning
•อาการและอาการแสดง >> ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ และท้องร่วง (ไม่มีไข้ และไม่อาเจียน)
•เกิดขึ้นหลังจากกินอาหาร 8-24 ชม.
2.โรคก๊าซแกงกรีน หรือโรคเนื้อตายเน่า (GasGangrene/Myonecrosis)
สาเหตุ >> บาดแผลจากอุบัติเหตุ >> บาดแผลอยู่ในสภาพไร้อากาศ >> เชื้อเจริญได้ดี
อาการและอาการแสดง
1.บริเวณรอบแผลบวมน้ำ มีตุ่ม มีของเหลวไหลซึมออกมา
แผลบริเวณกล้ามเนื้อบวมเป็นสีม่วงคล้ำ มีก๊าซ และของเหลวสะสม
3.แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืด เกิดความดันเพิ่มขึ้น ขาดเลือด และกล้ามเนื้อตาย
Clostridium botulinum
การก่อโรค
Foodborne Botulism
สาเหตุ >> รับประทานอาหารที่ผ่านกระบวนการถนอมอาหารที่มีการบรรจุไม่ได้มาตรฐาน เช่น อาการกระป๋อง ผัก / ผลไม้กระป๋อง
botulinum toxin
อาการและอาการแสดง >> ระยะฝักตัว12-36 ชั่วโมง >>
อ่อนเพลีย ปวดท้อง เวียนศีรษะ กระหายน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
อาการทางประสาท : นัยน์ตาพร่า เห็นภาพซ้อน กล้ามเนื้ออ่อนแรง กลืนอาหารลำบาก พูดลำบาก หายใจลำบาก
** อาจเสียชีวิตภายใน 1 วัน
Wound Botulism
Infantile Botulism
อาการ >> ท้องผูก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ดูดกลืนลำบาก ร้องไห้ เสียงเบา และคออ่อนพับ
พบในทารกอายุ 6 สัปดาห์ - 6 เดือน >> อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
Streptococcus
Streptococcus pneumoniae
การก่อโรค
โรคปอดบวม/ปอดอักเสบ
(Pneumonia / Pneumonitis)
ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ เยื้อบุหัวใจอักเสบ ข้ออักเสบ
ภาวะที่ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำลง >> ภาวะภูมิแพ้ Alcoholism การระคายเคืองทางเดินหายใจ ความเป็นพิษของยากดการทำงานของ phagocyte
อาการและอาการแสดง
เหงื่ออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว หายใจลำบาก
มีหนองในช่องปอด
มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอกรุนแรง มีเสมหะเป็นสีสนิมหรือสีน้ำตาลและมีเลือดปน
Bacteremia
มีการติดเชื้อไปสู่ส่วนอื่น : โพรงจมูก หูส่วนกลาง เยื้อหุ้มสมอง
Streptococcus pyogenes
การก่อโรค
1.ไฟลามทุ่ง (Erysipelas) : เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนังอย่างรุนแรง
อาการและอาการแสดง >> เกิดรอยแผลตามในหน้าและขา ผิวหนังจะเป็นสีแดงคล้ำ บวมน้ำและเป็นตุ่ม
2.โรคคออักเสบเฉียบพลัน(Acute pharyngitis)
อาการและอาการแสดง >>
• เจ็บคอ (อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน)
• กลืนน้ำลายและรู้สึกเจ็บคอ มีไข้
• คอหอย และต่อมทอนซิลแดง มีหนองที่ต่อมทอนซิล ลิ้นไก่บวมแดง
• ต่อมน้ำเหลืองข้างคอโต และกดเจ็บ
•ในเด็กมักพบอาการปวดศรีษะ และอาการในระบบทางเดินอาการ
( เช่น ปวดท้อง และ อาเจียน )
Streptococcus agalactiae
การก่อโรค >> พบเชื้อบริเวณ pharynx ทางเดินอาหาร ช่องคลอด
• 15 - 20 % ของหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นพาหะของเชื้อนี้ และอาจถ่ายทอดไปยังเด็กแรกเกิด
อาการและอาการแสดง >> Bacteremia >>ภาวะโลหิตเป็นพิษในทารกแรกเกิด
• ปอดบวมเยื่อหุ้มสมองอักเสบไขสันหลังอักเสบ
• ติดเชื่อที่ผิวหนัง เยื่อบุหัวใจอักเสบ หูอักเสบ ข้ออักเสบ
Streptococcus mutans
การก่อโรค
โรคฟันผุ (decayedteeth)
พบเชื้อใน nasopharynx ในปาก รอยแยกของช่องเหงือก
Streptococcus suis
การก่อโรค
เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน >> ถ่ายทอดสู่คนโดยการสัมผัสโดยตรง และ การกินอาหารสุกๆดิบๆ
ระยะฟักตัว 2-3 วัน
Sepsis / Streptococcal Toxic Shock Syndrome (STSS)
อาการและอาการแสดง
เยื้อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ ม่านตาอักเสบ
มีไข้ หนาวสั่น หอบเหนื่อย คลื่นไส้ ปวดศรีษะสูญเสียการได้ยิน >> หูหนวก (ไข้หูดับ)
Bacteremia >> อาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต
Staphylococcus
Staphylococcus aureus
การก่อโรค
1.การติดเชื้อที่ผิวหนัง
ฝีและฝักบัว (furuncles and carbuncles) : ผิวหนังชั้นนอกอักเสบทำให้เกิดหนอง / ฝีฝักบัวมักเกิดที่คอหรือหลังส่วนบน โดยจะมีปริมาณมากกว่าฝีธรรมดา และแพร่กระจายไปลึกกว่า
โรคผิวหนังเป็นตุ่มพุพอง (impetigo)
โรคผิวหนังหลุดลอก (scalded skin syndrom )
2.ไขกระดูกอักเสบ (osteomyelitis) ในเด็กชายอายุต่ำกว่า 12 ปี
3.โพรงข้อต่อมีหนอง (pyoarthrosis) หลังจากการการทำศัลยกรรมกระดูก >> เกิดการติดเชื้อระหว่างการฉีดสารบางชนิดเข้าไปในข้อต่อ
4.อาหารเป็นพิษ (Foodpoisoning) การกินอาหารที่เปื้อน enterotoxin ของเชื้อ
5.ลำไส้อักเสบ (enterocolitis) คนไข้ในโรงพยาบาลที่ normal flora ในลำไส้ ถูกยับยั้งการเจริญด้วย antibiotic ที่ออกฤทธิ์กว้าง (broadspectrumantibiotics)
6.ช็อก (ToxicShockSyndrome,TSS) ในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
Staphylococcus saprophyticus
การก่อโรค
พบเชท้อตามผิวหนัง >> ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของผู้หญิง
**ไม่ค่อยพบการติดเชื้อในผู้ชาย
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดง >> ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ มีหนอง และมีเชื้อจำนวนมากในปัสสาวะ
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis
การก่อโรค
วัณโรค (Tuberculosis)
เกิดได้กับทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะที่ปอด >> วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis)
เกิดจากการหายใจสูดดมเอาละอองของเชื้อเข้าไป
กลุ่มเสี่ยง >> ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น มีการระบายอากาศไม่ดี
เด็กทารก และผู้มีอายุ 16 -21 ปี มีความเสี่ยงต่อการติดโรคได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก ไอ มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
เชื้อกระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายหลังจากเกิดภาวะ Bacteremia
สร้างภูมิต้านทาน : ฉีดวัคซีน BCG
การติดต่อ : การไอ และจากเสมหะ
Mycobacterium leprae
การก่อโรค
โรคเรื้อน (LeprosyหรือHansen'sdisease,HD)
อาการและอาการแสดง
อาการทางผิวหนัง เส้นประสาทส่วนปลาย เยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบน
อาการทางระบบประสาท
1) เส้นประสาทรับความรู้สึกถูกทำลาย : อาการชา
2) เส้นประสาทควบคุมกล้ามเนื้อถูกทำลาย : กล้ามเนื้อลีบ และเกิดอัมพาตขอกล้ามเนื้อตามมือ เท้า ใบหน้า
3) เส้นประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหลอดเลือดและต่อมเหงื่อถูกทำลาย : เหงื่อไม่ออก ผิวหนังแห้ง
Corynebacterium diphtheriae
การก่อโรค
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน >> เกิดบริเวณคอหอยมากที่สุด
Diphtheriaexotoxin เป็นตัวสำคัญที่ทำให้เชื้อมีความรุนแรง >> ทำลายเยื่อบุผิว >> เกิดการอักเสบ
อาการและอาการแสดง >> เกิด pseudomembrane
พบบริเวณต่อมทอนซิล
แผ่นเยื่อไปปิดกั้นทางเดินหายใจ
เป็นแผ่นเยื่อมีความเหนียวและลอกออกยาก
Toxin แพร่เข้าสู่ร่างกายทางกระแสเลือด : Bacteremia
Listeria monocytogenes
การก่อโรค >> Listeriosis
พบในทารกแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ และคนไข้ภูมิคุ้มกันต่ำ
ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ โลหิตเป็นพิษ และสมองอักเสบ
สาเหตุ >> สัมผัสสัตว์และอุจจาระของสัตว์ กินผักสดที่รดด้วยปุ๋ยคอก การดื่มนมและเนยที่ไม่ผ่านการ pasteurization ( 62.8 องศาเป็นเวลา30นาที )
Spirochetes
Leptospira interrogans
การก่อโรค >> โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
Treponema pallidum
การก่อโรค
โรคซิฟิลิส (Syphilis)
• ระยะฝักตัว : ประมาณ 10 - 90 วัน (เฉลี่ย ~ 3 สัปดาห์ )
• การเกิดโรค แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1.ซิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง : ติดต่อทางเพศส้มพันธุ์ >> เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังที่มีแผล
2.ซิฟิลิสแต่กำเนิด : มารดาติดเชื้อซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์ (เชื้ออยู่ในกระแสเลือด >> ผ่านรก >> ทารกในครรภ์)
ระยะที่ 1 (primarysyphilis) : เกิดขึ้นหลังจากไดร้บัเชื้อ 2-10 สัปดาห์
ระยะที่ 2 (secondarysyphilis) : เกิดหลังเป็นแผลริมแข็ง1-2 เดือน
ระยะที่ 3 (tertiary/latesyphilis) : ระยะไม่ติด
A6480058 นางสาวอารียา บังทอง