Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ, รายวิชา คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึ…
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
ความหมายของสถิติ
คำว่า สถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมันว่า Statistik มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ข้อมูล หรือ สารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ เช่น การทำสำมะโนครัว เพื่อทราบพลเมือง ในประเทศทั้งหมด ต่อมา สถิติ หมายถึงตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุ บนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก ปริมาณน้ำฝนในแต่ละปี สถิติในความหมายนี้ เรียกว่าข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)
ประเภทของสถิติ
สถิติแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics)
ระดับการวัด
ระดับที่ 2 ระดับอันดับที่ (Ordinal Scales)
ระดับที่ 3 ระดับช่วง (Interval Scales)
ระดับที่ 1 ระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale)
ระดับที่ 4 ระดับอัตราส่วน (Ratio Scales)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ตัวอย่าง คือ สับเซตของการวัดที่มาจากประชากรที่สนใจศึกษา
พารามิเตอร์ คือ ค่าจริงหรือค่าประชากร ซึ่งโดยทั่วไปไม่ทราบค่า
ประชากร คือ กลุ่มของการวัดทั้งหมดที่สนใจศึกษา
ชนิดของตัวแปร
ตัวแปรเชิงคุณภาพ
ตัวแปรเชิงปริมาณ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การบันทึกข้อมูล
การลงรหัสข้อมูล (Coding)
โปรแกรม SPSS for Windows
ปัจจุบันโปรแกรม SPSS มีการพัฒนาโปรแกรมรุ่นใหม่ออกมาอยู่เป็นประจำ และมีขอบเขตงานวิเคราะห์ทาง สถิติที่ครอบคลุมกว้างขวางมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านธุรกิจ การตลาด การควบคุมการผลิต ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ ทางอุตสาหกรรม เป็นต้น
หลักการใช้งาน SPSS for Windows
1. ขั้นการอ่านข้อมูลเข้าระบบ
ขั้นการคำนวณทางสถิติ
ขั้นการอ่านผลลัพธ์ SPSS
เมนูบนหน้าต่างของ SPSS
File เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้เปิดแฟ้ม สร้างแฟ้ม บันทึกแฟ้มข้อมูล อ่านแฟ้มข้อมูล ที่สร้างโดยโปรแกรมอื่นๆ เช่น excel พิมพ์ข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ และจบการใช้โปรแกรม
Edit เป็นเมนูที่ใช้แก้ไขคัดลอก ตัด ค้นหาข้อมูลภายในหน้าต่าง
View เป็นเมนูที่ใช้จัดแบบตัวอักษร และรูปแบบต่าง ๆ
Data เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงแฟ้มข้อมูล เช่น การรวมแฟ้ม การสร้างเซตย่อยของแฟ้มเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล การเพิ่มตัวแปร การเพิ่มข้อมูล การเรียงลำดับ
Transform เป็นเมนูที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงตัวแปรของแฟ้มข้อมูล คำนวณหาค่า ตัวแปรใหม่โดยใช้ฟังก์ชันของตัวแปรเดิม การเปลี่ยนแปลงนี้จะไม่มีผล ต่อแฟ้มเดิม
Analyze ใช้เรียกคำสั่งในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเช่นการหาค่าสถิติเบื้องต้น การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย หาความสัมพันธ์ อนุกรมเวลา การทดสอบที่ไม่ ใช้พารามิเตอร์ เป็นต้น
Graphs ใช้ในการสร้างกราฟ หรือชาร์ทรูปแบบต่าง ๆ
:Utilities ใช้ในการกำหนดตัวแปร กลุ่มตัวแปร หรือเรียกใช้กลุ่มตัวแปรเหล่านั้น
Window ใช้ในการจัดเรียงหน้าต่างในรูปแบบต่าง ๆ การเลือกแสดงสถานะและ การเลือกหน้าต่างใช้งานปัจจุบัน
Help เป็นคำอธิบายช่วยเหลือในการใช้โปรแกรมหรือรูปแบบคำสั่ง
รายวิชา คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
นาง มะไลสี สีแสงจัน รายวิชา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา 6342124902
เสนออาจารย์
นิติธาร ชูทรัพย์
สาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร