Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ให้ออกซิเจน - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ให้ออกซิเจน
ออกซิเจน
คือ ส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศโลก ประมาณ 20.947 % มีสถานะเป็น ของแข้ง ของเหลว gas ไม่มีสี -กลิ่น ช่วยให้ไฟติด ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ควรอยู่ที่ 95- 100%
กระบวนการหายใจ
การหายใจนอกเซลล
นำ อากาศเข้าสู่เซลล์ ก่อนเกิดการ.
แลกเปลี่ยน ก๊าซระหว่างสอง กับอวัยวะที่ใช้หายใจ เช่น ปอด เหงือก ผิวหนัง ท่อลม และปากใบของพืช
หายใจภายในเซล
ขั้นตอนของ การย่อยสลายการอาหาร เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงาน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจน
ป้องกันภาวะ Hypoxialn (ขาดออกซิเจน)
รักษาระดับออกซิเจน ในเลือด ลดการทำงานของ ระบบหายใจ , หัวใจ
การให้ออกซิเจน
ทุกกรณีเมื่อผู้ป่วยรับออกซิเจนไม่เพียงพอ โดยใช้เครื่อง วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (ค่าที่ ได้น้อย กว่า 90%)
ผู้ป่วยที่หัวใจ ล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีอาการ หรือ อาการแสดงของ ภาวะขาดออกซิเจน สีริมฝีปาก ดูคล้ำ เขียว
. ผู้ที่มีการโลหิตจาง มีความ
ดันตก
อุปกรณ์
แหล่งออกซิเจน
ถัง (ขนาด ) การ
คำนวณ /เช็ด
แทงค์(ออกซิเจนเหลว)
เครื่องผลิด
หัวเกย์
ความชื้น นํ้า สะอาด/กระป๋อง /ประแจ
สายออกซิเจน
วิธีการประเมินผู้ป่วย
ประเมินความรู้สึกตัว / ฉุกเฉิน
ประเมินความต้องการออกซิเจน
ประเมินด้วยตา สภาพทั่วไป จังหวะ (12- 20 ครั้ง /น . ) ตามช่วงอายุ ลักษณะ ตื้นลึก แผ่วเบา
ประเมินด้วย เครื่องมือ spo 2 ค่าปกติ ประเมินด้วยผลเลือด
วิธีการให้ออกซิเจน
เช็คอุปกรณ์
Flow meter การ
หมุน
กระป๋อง /น้ำกลั่น / จุก ยาง
สายต่างๆ
ดูหน้าปัด(เกย์)
ทาง สายยาง Cannular ค.เข้มข้น /ก . เปิด 2- 3 litlmin เป็นที่นิยม
ทางรูจมูก Catheter 5 litlmin .
ทางหน้ากาก ( Mask ) ต้องการ ความ เข้มข้นสูง 5 lit 1min .
ทางหน้ากาก และถุง ลม ( Maskc Bag ) ต้องการเข้มข้น . สูงสุด 8- 10 litlmin .
ขั้นตอนการให้ออกซิเจน
ตรวจสอบ คำสั่ง การรักษา
ประเมิน สัญญาณชีพ
จัดเตรียมอุปกรณ์ข้าง เตียงผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด หรือใช้ Waterless 20 -30 s
ระบุตัวผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วย /ญาติทราบถึง วัตถุประสงค์ และวิธีให้ออกซิเจน
จัดทำผู้ป่วยในท่านอนหงายศีรษะสูง เล็กน้อย
ต่อชุดออกซิเจน พร้อม เติมนํ้า กลั่นในกระป๋องใส่นํ้า เข้ากับ ถังออกซิเจน หรือ ระบบท่อนำก๊าซ หมุนเกลียวให้แน่น
ใส่นํ้าสะอาด