Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System ระบบต่อมไร้ท่อ, นางสาวกนกพร เสาวมาลย์ รหัสนักศึกษา…
Endocrine System ระบบต่อมไร้ท่อ
หน้าที่หลัก
ควบคุมภาวะสมดุลต่างๆในร่างกาย
ระบบสืบพันธ์
ดุลการเจริญเติบโต แคลเซียม น้ำ
กรดด่าง และการเผาผลาญสารอาหาร
การคลอดบุตร
การหลั่งน้ำนม
การควบคุมการทำงาน
โดยวิธีย้อนกลับ
มี 2 แบบ
Negative feedback
เป็นรูปแบบการควบคุมที่ใช้มาก คือการที่ฮอร์โมนหรือผลของฮอร์โมนนั้น บอกสัญญาณไปยังต่อมไร้ท่อให้หลั่งฮอร์โมนน้อยลง
Positive feedback
เป็นรูปแบบที่พบน้อยกว่า เป็นการทำงานตรงกันข้าม กับการยับยั้งที่กล่าวมาแล้ว คือ แทนที่จะไปยับยั้งแต่ผลของฮอร์โมน จะไปกระตุ้นให้มีการทำงานของต่อมไร้ท่อมากขึ้น
การควบคุมการทำงาน
ของต่อมไร้ท่อ
-ระบบประสาท
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ต่อมหมวกไตชั้นใน
-ฮอร์โมน
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าสร้างฮอร์โมน
มาควบคุมต่อมไทรอยด์
-ผลของฮอร์โมน
แคลเซียมในเลือดต่ำกระตุ้น
ต่อมพาราไทรอยด์ให้ทำงาน
Hormones
เป็นสารเคมีที่สร้างจากต่อมไร้ท่อ จะเดินทางโดยเข้ากระเเสเลือดไปยังอวัยวะเป้าหมาย
ฮอร์โมนเเต่ละตัวจะมีอวัยวะเป้าหมายและมีตัวรับที่จะจับกันเเละออกฤทธิ์ได้
ชนิดของฮอร์โมน
แบ่งตามคุณสมบัติ
Peptide H
Steroid H
Glycoprotein H
Amine H
Thyroid Gland
ต่อมไร้ท่อขนาดใหญ่บริเวณด้านหน้าของลำคอใกล้กับหลอดลม ทำหน้าที่สร้าง “ไทร็อกซิน” (Thyroxin)
ฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบประสาท ควบคุมอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
Pineal gland
อยู่เหนือสมองบริเวณ hypothalamus สร้างฮอร์โมน Malatonin
Malatonin
หน้าที่---ควบคุมการหลับเเละตื่น การสร้างภูมิคุ้มกัน สมดุลการสร้างพลังงาน สารต้านอนุมูลอิสระ
สารแอนตี้การทำงานของเซลล์มะเร็ง น้ำหนักตัว
Pituitary Gland
คือ ต่อมขนาดเล็กใต้สมอง
ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน
ที่สำคัญ ได้แก่
Gonadotrophic Hormone---ทำหน้าที่กระตุ้น
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์
Antidiuretic Hormone---ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
Growth Hormone---ทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะกระดูกและกล้ามเนื้อ
Pancreas
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน (Insulin) และกลูคากอน (Glucagon) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
Thymus Grand
คือ ต่อมไร้ท่อด้านหน้าทรวงอก
ที่ผลิตสารไทโมซิน (Thymosin)
ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
Parathyroid Gland
ต่อมไร้ท่อขนาดเล็กฝังอยู่ด้านหลังเนื้อเยื่อไทรอยด์ ทำหน้าที่ผลิต “พาราทอร์โมน” (Parathormone)
Parathormone เป็นฮอร์โมนสำคัญที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
Hypothalamus
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
Indirect hormone สร้างจาก anterior pituitary hormone H. ให้สร้างฮอร์โมน เช่น GNRH มีผล
ให้หลั่ง FSH,LH
Direct hormone มีฮอร์โมนสร้างใน hypothlamus
เก็บไว้ใน posterior pituitary gland เมื่อมีภาวะไม่สมดุล
จะหลั่งออกมามีฮอร์โมน 2 ตัว คือ ADH,Oxytocin
Adrenal Gland
ชั้นนอก (Adrenal Cortex)
เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส (Mesenchymas) ในชั้นมีโซเดิร์ม (Mesoderm) ของตัวอ่อน ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ 3 ชนิด คือ Glucocorticoid Hormone,Mineralocorticoid Hormone,Sex hormone
ชั้นใน (Adrenal Medulla)
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ อะดรีนาลีน (Adrenalin/Epinephrine Hormone) และนอร์อะดรีนาลีน (Noradrenlin/Norepinephrine Hormone) ซึ่งกระตุ้นการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ต่อมเพศ
ฮอร์โมนเพศชายที่สําคัญ คือ เทสทอสเตอโรน (Testosterone)
ฮอร์โมนเพศหญิง ที่สําคัญ คือ เอสโตรเจน (Estrogen)
และโปรเจสเตอโรน (Progesterone)
นางสาวกนกพร เสาวมาลย์ รหัสนักศึกษา 64106301001
แหล่งอ้างอิง
เอกสารประกอบการสอน
https://ngthai.com/science/31561/endocrine-system/